有觉性 以安住且中立的心 照见身心的实相
D24.76《隆波帕默尊者开示》-2024年9月7日/zh:修订间差异
(创建页面,内容为“如何消除毗婆舍那杂染(vipassanūpakkilesa)并恢复到止禅(samatha)让心安住?例如,修行时出现光芒,仿佛世界一片光明,无论白天黑夜都充满光亮。这时,愚蠢的人可能误以为已证得道果,而那些听过师父教诲的人会意识到这是毗婆舍那杂染。要克服这种情况,首先要让心宁静下来,不要再去关注这些光芒,因为这是心外散的表现。应将心导向单一…”) |
(创建页面,内容为“因此我们要知道,禅定是必要的。首先,它让我们有力量;其次,它使心安定。什么时候应该让心恢复力量呢?就是当心力衰退的时候,要马上去修,不必等到它完全耗尽。就像手机电池,不需要等到电量为零才充电,剩下10%的时候我们就可以去充了。如果等到0%再充,电池可能会坏掉,心力也可能会崩溃。而什么时候应该使心安定呢?当心已经有力…”) |
||
(未显示同一用户的37个中间版本) | |||
第28行: | 第28行: | ||
因此,我们修行时要真正奋斗,要有决心。进步时继续修行,而不是因为进步了就放松。退步时也继续修行,而不是因为退步就灰心丧气,放弃修行。要勇敢、坚强,懂得忍耐,懂得等待时机。作战时,不是有力气就一味猛攻,而是要把握进攻和退却的节奏。有时需要暂时撤退,就像毛泽东与蒋介石的战争一样,无法抵抗时,甚至面对日本的进攻也力不从心,于是进行了长达万里的长征,逐步撤退,但最终没有失败。时机成熟时,再次集结力量反攻。 | 因此,我们修行时要真正奋斗,要有决心。进步时继续修行,而不是因为进步了就放松。退步时也继续修行,而不是因为退步就灰心丧气,放弃修行。要勇敢、坚强,懂得忍耐,懂得等待时机。作战时,不是有力气就一味猛攻,而是要把握进攻和退却的节奏。有时需要暂时撤退,就像毛泽东与蒋介石的战争一样,无法抵抗时,甚至面对日本的进攻也力不从心,于是进行了长达万里的长征,逐步撤退,但最终没有失败。时机成熟时,再次集结力量反攻。 | ||
当隆波还是小孩的时候,长辈们常常教我们要忍耐,哪怕是一些小事,也要学会忍耐,学会克制自己,学会等待。我曾经讲过一个故事,以前有个中国人挑着玩具来我家门口卖,那玩具是塑料做的,一个才一块钱左右,有一辆火车玩具,包括一个火车头和一个客车车厢。我很想要,就跟爸爸说让他买给我。爸爸说:“明天再买,先学会等待。”于是我等着,到了下午,我就到门口等着,怕错过了小贩。小贩来了,爸爸说:“这有两节车厢,先买一节吧,买后面的车厢,火车头明天再买。学着等待。” | |||
我心里想,哎,为什么只买一节呢?应该买火车头啊,后面的车厢没什么好看的,火车头才好看。但爸爸让我等,要我忍耐。第二天我又去等那个卖家,结果发现他已经把火车头卖掉了!当时真的很失望、难过。不过,我还是拿着那节车厢,用绳子拉着,在家门口的路上玩。后来,邻居家的小孩也拉着他们的火车头走过来,我们彼此对望了一下,然后各自拉着自己的火车回家。当时我觉得大人是在故意捉弄我,但他们其实是要教我学会忍耐和等待。 | 我心里想,哎,为什么只买一节呢?应该买火车头啊,后面的车厢没什么好看的,火车头才好看。但爸爸让我等,要我忍耐。第二天我又去等那个卖家,结果发现他已经把火车头卖掉了!当时真的很失望、难过。不过,我还是拿着那节车厢,用绳子拉着,在家门口的路上玩。后来,邻居家的小孩也拉着他们的火车头走过来,我们彼此对望了一下,然后各自拉着自己的火车回家。当时我觉得大人是在故意捉弄我,但他们其实是要教我学会忍耐和等待。 | ||
第36行: | 第36行: | ||
奢摩他是必要的,它可以使我们获得力量,并让心稳定。因此,我们需要进行奢摩他的修行和毗婆舍那业处的修行,并且明白这些修行的目的。奢摩他的目的是让心得到安宁和力量,为进一步开发智慧做好准备。如果仅仅有力量还没有办法开发智慧,就像只是锻炼武功使身体强壮,却不知道如何战斗一样,面对挑战也无法胜出。首先,我们需要训练心使其宁静,获得力量。接着,我们要使心安住,成为一个知者、醒者、喜悦者。 | |||
心安住用来开发智慧,然而若心力不足,就无法开发智慧。比如当我们心安住时,能够分离五蕴,看到色法和名法的三法印,持续观下去。然而,当心力耗尽时,毗婆舍那杂染(vipassanūpakkilesa)就有机会潜入,欺骗我们,导致修行被误导。大多数情况下,这种欺骗让我们以为自己已经证得道果,但实际上什么都没有证得,反而堕入无明之中。当心力不足,强行修观,毗婆舍那的杂染就会出现。 | 心安住用来开发智慧,然而若心力不足,就无法开发智慧。比如当我们心安住时,能够分离五蕴,看到色法和名法的三法印,持续观下去。然而,当心力耗尽时,毗婆舍那杂染(vipassanūpakkilesa)就有机会潜入,欺骗我们,导致修行被误导。大多数情况下,这种欺骗让我们以为自己已经证得道果,但实际上什么都没有证得,反而堕入无明之中。当心力不足,强行修观,毗婆舍那的杂染就会出现。 | ||
如何消除毗婆舍那杂染(vipassanūpakkilesa)并恢复到奢摩他(samatha)让心安住?例如,修行时出现光芒,仿佛世界一片光明,无论白天黑夜都充满光亮。这时,愚蠢的人可能误以为已证得道果,而那些听过师父教诲的人会意识到这是毗婆舍那杂染。要克服这种情况,首先要让心宁静下来,不要再去关注这些光芒,因为这是心外散的表现。应引导心与单一快乐的所缘在一起。当心集中了,毗婆舍那杂染就会消失。如果心没有足够的力量,不会成功克服这种障碍。 | |||
我们必须知道修习奢摩他是为了什么,是为了让心有力量,让心安住。具有力量的心是持续安住在单一的所缘中,这称为止禅(อารัมมณูปนิชฌาน Ārammanupa-nijjhana)。安住的心是准备观察色法和名法的三法印。它处于平静(สงบ)状态,这称之为观禅(ลักขณูปนิชฌาน Lakkhanupa-nijjhana)。这两者虽然不同,但都各有益处,都是正定。但如果在打坐时没有正念,被痴所笼罩,那就是邪定,不可使用。邪定会让烦恼更加滋长。 | |||
因此,我们需要知道,我们为什么要禅修,为什么要修习奢摩他。是为了让心有力量,让心安住。当心没有力量时,将心持续专注于一个所缘,重视那个境界,心就会有力量。因为心没有东想西想,跑来跑去,而是安住于一个所缘,心就得到了休息,所以心就有力量了。 | |||
要让心安住,就是有觉性知道心的行为。比如我们吸气“佛”,呼气“陀”,当心跑去想其他事情时,要觉察到心已经跑去想了,而不是将心引回呼吸或念佛陀,而是觉察到心的状态。因此,这两种禅定方法是不同的。第一种为了让心宁静,所缘是主角;第二种为了让心安住,心是主角。这两种方法不一样,结果也不一样。因此,我们要时刻觉察自己的心,做任何我们擅长的禅修方法,同时保持对自己心的觉知。 | |||
有些人使用心念住也是可以的。比如当隆波遇到隆布敦(LuangPu Dune)的时候,隆波用心念住,就看到贪心、嗔心、痴心的生起和灭去,看到散乱的心、沮丧的心生起和灭去,持续观下去,可以开发智慧。当心力耗尽时,该怎么做?需要回到呼吸、念佛陀吗?不必要。如果我们已经擅长修业处,就不需要将心转回到呼吸,而是关注心本身。不要去关注心跑掉了或专注的状态,而是转而安住于一个单一的境界(所缘)。 | |||
如果我们观察心,有两种心容易用于修习奢摩他。在经典中常提到这两种心适合修习奢摩他,其实如果掌握得好,也可以用于修习毗婆舍那。其中一种心是空,光明、明亮而空旷。这种心属于第一种无色界的心,心处于一种空空隙之中。空隙与空是不同的。你见过水管吗?像那种圆形的水管,水管中有空洞,这个空洞是空的,但它仍然有边缘和外壳,这就是空隙。我们在打坐时,观察这种空隙,它有边界。如果我们将心沉浸在这种空隙中,心便可以得到休息。 | |||
另一种容易让心用来休息的是在无所有处(Ākiñcaññāyatana),不抓取色法、不抓取名法,但这一种稍微有些难。如果我们不抓取色法,就会抓取名法;不紧盯色法,就会紧盯名法。而这个是集中在虚无(ความไม่มีอะไรเลย),舍弃色法,舍弃名法,进入空空如也(ว่างๆๆ)的状态,空到我们最初会以为是涅槃。因此,当我们观察心的生灭不断地发生,看到贪生灭,看到嗔生灭,当心疲惫的时候,它会趋向于进入空空的状态,这样也是可以的。但如果无法做到,或者心不愿意这样做,那就控制它一下,回到我们擅长的基础禅修业处上去。 | |||
就像隆波禅修时,观心直到熟练,觉性变得非常快,定力也一直保持着。继续观察心的生灭,直到最后心力耗尽。当心力耗尽时,本应该让心安住在宁静的空中休息,但我没有,我继续努力观察生灭,可以说是强迫自己不停地观。或者本应该回到我们熟悉的呼吸练习,但我也没有做,觉得那样是在浪费时间。我在智慧的道路上走得很远,哇,这太有趣了!从未了解的得到了了解,从未见到的得以见到,从未理解的得到了理解,感觉非常有趣,结果却沉迷于毗婆舍那,忽略了奢摩他,这是行不通的。最终,这导致了“毗婆舍那杂染”的出现。 | |||
因此我们要知道,禅定是必要的。首先,它让我们有力量;其次,它使心安定。什么时候应该让心恢复力量呢?就是当心力衰退的时候,要马上去修,不必等到它完全耗尽。就像手机电池,不需要等到电量为零才充电,剩下10%的时候我们就可以去充了。如果等到0%再充,电池可能会坏掉,心力也可能会崩溃。而什么时候应该使心安定呢?当心已经有力量,但只是静止不动的时候。光是安静不动是没有用的,所以我们需要训练心使其安定。一旦心安定下来,以后它就可以继续工作了。 | |||
2024年9月28日 (六) 12:32的最新版本
ทำสมถะเพื่อให้จิตมีแรงและตั้งมั่น
许多居士的修行进步了,修行是需要时间的。当我们积累烦恼时,花了很长时间;要清除这些烦恼,也同样需要时间。不是一禅修就马上见效。泰国人心急,想要快速得到结果,不太有耐心。老年人眼中的年轻一代,觉得令人担忧,因为他们不太有耐心,做事浮躁。许多企业主也在抱怨,雇佣泰国人工作,不久就辞职了,想休息哪天就休息,工作出现问题也不负责。
所以,很多企业主只好雇佣外国劳工工作。有些人认为这些外国劳工抢了泰国人的工作,但实际上并没有抢,因为泰国人自己不太愿意做这些工作,过于追求安逸。其实,泰国男人,依照师父的看法,每个男人都应该去当兵,至少要接受训练,这样才能变得坚强,有点耐心。不能一看到壁虎就惊叫,那敌人会嘲笑我们的。而作为佛教徒,到了合适的时间应该出家,但出家也要选择真正修行的寺庙。
出家修行的生活并不舒适,需要极大的忍耐与克制。如果我们曾经历过困苦,就不会害怕困难;但如果从小父母娇惯,害怕吃苦,内心不够坚定,那么在世俗中会感到难以生存,在修行的道路上也难以有发展机会。而如果想真正开始修行,软弱的人是做不到的。与烦恼作斗争不是闹着玩的事情,也不是兼职工作,不能随便空闲时才去做。烦恼就像杂草,总是不断生长。如果我们没有足够的智慧和觉性去与之斗争,时断时续地修行,烦恼就会重新占据心。
有很多僧人是师父认识的,以前来这里学习,专心修行,居士们也很尊敬他们,生病时还一起照顾,花费了很多钱为他们治疗。然而,他们修行一阵子又停下来,修行一阵子又停下来。到了某个时候,他们失去了动力,觉得无法继续修行,于是就放弃了,荒废了一生。修行需要忍耐和坚强,如果不能克制自己,就会被烦恼打败。克制自己就是"调伏"(ทมะ),要懂得克制自己,不轻易放弃,还需要"忍辱"(ขันติ),忍耐一切艰难困苦。
没有借口,今天太冷了,想先睡一会儿;今天太热了,没法修行;借口一大堆。太饿了,先休息一下,等不饿了再修行。如果有人有这样的习惯,就应该改掉,这是不吉祥的习惯,这样是无法修行的。如果我们想修行,就必须具备忍耐,不管多么困难都要坚持修行,绝不能向烦恼屈服。还要有调伏之心,能够克制自己。如果软弱就会失败,失败后会怎样呢?失败后就会继续受苦,而心中原本想要奋斗的力量也会逐渐消退。
有些人修行时进步了,但随后又退步了。即便如此,他们还是坚持修行,不放弃,进步了一段时间后,又再度退步,但依然忍耐,不放弃,继续修行。即使跌倒了,也不屈服,最终有一天就会胜利。这就像古代的战争一样,无论在印度还是中国,争夺都城和王位的战斗中,有些人一次又一次失败,但他们不屈服。失败后重新集结力量,继续战斗。中国也有这样的例子,比如汉朝开国皇帝刘邦,他一开始屡战屡败,但只要胜利一次,就统治了中国,汉朝延续了400多年。
因此,我们修行时要真正奋斗,要有决心。进步时继续修行,而不是因为进步了就放松。退步时也继续修行,而不是因为退步就灰心丧气,放弃修行。要勇敢、坚强,懂得忍耐,懂得等待时机。作战时,不是有力气就一味猛攻,而是要把握进攻和退却的节奏。有时需要暂时撤退,就像毛泽东与蒋介石的战争一样,无法抵抗时,甚至面对日本的进攻也力不从心,于是进行了长达万里的长征,逐步撤退,但最终没有失败。时机成熟时,再次集结力量反攻。
当隆波还是小孩的时候,长辈们常常教我们要忍耐,哪怕是一些小事,也要学会忍耐,学会克制自己,学会等待。我曾经讲过一个故事,以前有个中国人挑着玩具来我家门口卖,那玩具是塑料做的,一个才一块钱左右,有一辆火车玩具,包括一个火车头和一个客车车厢。我很想要,就跟爸爸说让他买给我。爸爸说:“明天再买,先学会等待。”于是我等着,到了下午,我就到门口等着,怕错过了小贩。小贩来了,爸爸说:“这有两节车厢,先买一节吧,买后面的车厢,火车头明天再买。学着等待。”
我心里想,哎,为什么只买一节呢?应该买火车头啊,后面的车厢没什么好看的,火车头才好看。但爸爸让我等,要我忍耐。第二天我又去等那个卖家,结果发现他已经把火车头卖掉了!当时真的很失望、难过。不过,我还是拿着那节车厢,用绳子拉着,在家门口的路上玩。后来,邻居家的小孩也拉着他们的火车头走过来,我们彼此对望了一下,然后各自拉着自己的火车回家。当时我觉得大人是在故意捉弄我,但他们其实是要教我学会忍耐和等待。
忍耐和懂得等待并不是小事。如果我们要修行,但心急如焚,是不会有好结果的。心急的时候,觉性和定力都会失去。当下可能还不是我们得道果的时候,我们只能继续等待。但这并不是消极等待,而是要继续修行。想获得成果,想成为初果圣者(须陀洹),这是每个修行者的愿望。然而,成就须陀洹并不是靠欲望得到的,而是以卓越的智慧修习奢摩他和毗婆舍那才能达到的。
奢摩他是必要的,它可以使我们获得力量,并让心稳定。因此,我们需要进行奢摩他的修行和毗婆舍那业处的修行,并且明白这些修行的目的。奢摩他的目的是让心得到安宁和力量,为进一步开发智慧做好准备。如果仅仅有力量还没有办法开发智慧,就像只是锻炼武功使身体强壮,却不知道如何战斗一样,面对挑战也无法胜出。首先,我们需要训练心使其宁静,获得力量。接着,我们要使心安住,成为一个知者、醒者、喜悦者。
心安住用来开发智慧,然而若心力不足,就无法开发智慧。比如当我们心安住时,能够分离五蕴,看到色法和名法的三法印,持续观下去。然而,当心力耗尽时,毗婆舍那杂染(vipassanūpakkilesa)就有机会潜入,欺骗我们,导致修行被误导。大多数情况下,这种欺骗让我们以为自己已经证得道果,但实际上什么都没有证得,反而堕入无明之中。当心力不足,强行修观,毗婆舍那的杂染就会出现。
如何消除毗婆舍那杂染(vipassanūpakkilesa)并恢复到奢摩他(samatha)让心安住?例如,修行时出现光芒,仿佛世界一片光明,无论白天黑夜都充满光亮。这时,愚蠢的人可能误以为已证得道果,而那些听过师父教诲的人会意识到这是毗婆舍那杂染。要克服这种情况,首先要让心宁静下来,不要再去关注这些光芒,因为这是心外散的表现。应引导心与单一快乐的所缘在一起。当心集中了,毗婆舍那杂染就会消失。如果心没有足够的力量,不会成功克服这种障碍。
我们必须知道修习奢摩他是为了什么,是为了让心有力量,让心安住。具有力量的心是持续安住在单一的所缘中,这称为止禅(อารัมมณูปนิชฌาน Ārammanupa-nijjhana)。安住的心是准备观察色法和名法的三法印。它处于平静(สงบ)状态,这称之为观禅(ลักขณูปนิชฌาน Lakkhanupa-nijjhana)。这两者虽然不同,但都各有益处,都是正定。但如果在打坐时没有正念,被痴所笼罩,那就是邪定,不可使用。邪定会让烦恼更加滋长。
因此,我们需要知道,我们为什么要禅修,为什么要修习奢摩他。是为了让心有力量,让心安住。当心没有力量时,将心持续专注于一个所缘,重视那个境界,心就会有力量。因为心没有东想西想,跑来跑去,而是安住于一个所缘,心就得到了休息,所以心就有力量了。
要让心安住,就是有觉性知道心的行为。比如我们吸气“佛”,呼气“陀”,当心跑去想其他事情时,要觉察到心已经跑去想了,而不是将心引回呼吸或念佛陀,而是觉察到心的状态。因此,这两种禅定方法是不同的。第一种为了让心宁静,所缘是主角;第二种为了让心安住,心是主角。这两种方法不一样,结果也不一样。因此,我们要时刻觉察自己的心,做任何我们擅长的禅修方法,同时保持对自己心的觉知。
有些人使用心念住也是可以的。比如当隆波遇到隆布敦(LuangPu Dune)的时候,隆波用心念住,就看到贪心、嗔心、痴心的生起和灭去,看到散乱的心、沮丧的心生起和灭去,持续观下去,可以开发智慧。当心力耗尽时,该怎么做?需要回到呼吸、念佛陀吗?不必要。如果我们已经擅长修业处,就不需要将心转回到呼吸,而是关注心本身。不要去关注心跑掉了或专注的状态,而是转而安住于一个单一的境界(所缘)。
如果我们观察心,有两种心容易用于修习奢摩他。在经典中常提到这两种心适合修习奢摩他,其实如果掌握得好,也可以用于修习毗婆舍那。其中一种心是空,光明、明亮而空旷。这种心属于第一种无色界的心,心处于一种空空隙之中。空隙与空是不同的。你见过水管吗?像那种圆形的水管,水管中有空洞,这个空洞是空的,但它仍然有边缘和外壳,这就是空隙。我们在打坐时,观察这种空隙,它有边界。如果我们将心沉浸在这种空隙中,心便可以得到休息。
另一种容易让心用来休息的是在无所有处(Ākiñcaññāyatana),不抓取色法、不抓取名法,但这一种稍微有些难。如果我们不抓取色法,就会抓取名法;不紧盯色法,就会紧盯名法。而这个是集中在虚无(ความไม่มีอะไรเลย),舍弃色法,舍弃名法,进入空空如也(ว่างๆๆ)的状态,空到我们最初会以为是涅槃。因此,当我们观察心的生灭不断地发生,看到贪生灭,看到嗔生灭,当心疲惫的时候,它会趋向于进入空空的状态,这样也是可以的。但如果无法做到,或者心不愿意这样做,那就控制它一下,回到我们擅长的基础禅修业处上去。
就像隆波禅修时,观心直到熟练,觉性变得非常快,定力也一直保持着。继续观察心的生灭,直到最后心力耗尽。当心力耗尽时,本应该让心安住在宁静的空中休息,但我没有,我继续努力观察生灭,可以说是强迫自己不停地观。或者本应该回到我们熟悉的呼吸练习,但我也没有做,觉得那样是在浪费时间。我在智慧的道路上走得很远,哇,这太有趣了!从未了解的得到了了解,从未见到的得以见到,从未理解的得到了理解,感觉非常有趣,结果却沉迷于毗婆舍那,忽略了奢摩他,这是行不通的。最终,这导致了“毗婆舍那杂染”的出现。
因此我们要知道,禅定是必要的。首先,它让我们有力量;其次,它使心安定。什么时候应该让心恢复力量呢?就是当心力衰退的时候,要马上去修,不必等到它完全耗尽。就像手机电池,不需要等到电量为零才充电,剩下10%的时候我们就可以去充了。如果等到0%再充,电池可能会坏掉,心力也可能会崩溃。而什么时候应该使心安定呢?当心已经有力量,但只是静止不动的时候。光是安静不动是没有用的,所以我们需要训练心使其安定。一旦心安定下来,以后它就可以继续工作了。
พอจิตตั้งมั่นแล้ว ต่อไปมันจะไปทำงานได้ งานแรกที่มันทำก็คือ การแยกรูปนาม แยกขันธ์ คนที่เรียนปริยัติ เขาก็รู้จักทั้งนั้น นามรูปปริจเฉทญาณ มีปัญญาแยกรูปนาม พูดได้ แต่แยกได้อย่างไร แยกโดยการคิดเอาว่านี่รูปนี่นาม อันนั้นไม่ได้มีคุณภาพของการแยกเลย เราต้องฝึกจิตจนตั้งมั่น พอจิตตั้งมั่นแล้ว สติระลึกรู้รูป มันจะเห็นรูปกับจิตคนละอันกัน สติระลึกรู้เวทนา ก็จะเห็นเวทนากับรูปคนละอัน เวทนากับจิตก็คนละอัน สติระลึกรู้สังขารที่เป็นกุศลอกุศลทั้งหลาย ก็จะเห็นกุศลอกุศลไม่ใช่รูป แล้วก็ไม่ใช่เวทนา แล้วก็ไม่ใช่จิต เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้า มันแยกออกไปเรื่อยๆ แล้วพอแยกเข้ามาถึงชำนิชำนาญ เราจะเห็น จิต เวลาจิตเกิด ไม่ได้เกิดดวงเดียว เกิดดวงเดียวแต่ว่าไม่ใช่เกิดคนเดียว มันเกิดร่วมกับเจตสิกจำนวนมาก
จิตทุกดวงมีเวทนา จิตทุกดวงมีสัญญา แล้วก็มีสังขารบางอย่าง แล้วสังขารที่แตกต่างกันนั้น ก็ทำให้จิตวิจิตรพิศดารแตกต่างกันไป เป็นจิตดี จิตชั่ว จิตดีก็มีหลายระดับ จิตชั่วก็มีเยอะแยะเลย มีมากมาย มันจะค่อยๆ สามารถแยกได้ ถ้าจิตเราตั้งมั่น ถ้าจิตไม่ตั้งมั่น มันก็แยกด้วยปาก แยกไม่ได้จริงหรอก เกือบร้อยละร้อยของคนภาวนาไม่มีจิตที่ตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ฉะนั้นภาวนาเหน็ดเหนื่อยมากเลย สุดท้ายก็ท้อแท้ใจ ก็เลิกไป
การทำวิปัสสนา เราก็ต้องรู้ ทำเพื่ออะไร ทำเพื่อให้เห็นความจริงของรูปนามกายใจ เห็นไปทำไม ถ้าเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายคลายความยึดถือ แล้วก็ปล่อยวางรูปนามได้ หลุดพ้น มีวัตถุประสงค์ของมัน เราจะทำวิปัสสนาตอนไหน ตอนที่จิตเราตั้งมั่นแล้ว ถ้าจิตเราไม่ตั้งมั่น ไม่ต้องรีบทำวิปัสสนา มันเป็นวิปัสสนึกหมด คิดๆ เอาทั้งนั้น วิปัสสนะ ก็ต้องเห็นเอา ไม่ใช่คิดเอา มันจะเห็นได้ มันก็ต้องมีผู้เห็น คือจิตที่เป็นผู้เห็นได้ จิตที่เป็นผู้รู้
ฉะนั้นในสายตาหลวงพ่อ ในทัศนะหลวงพ่อ ถ้าเราไม่มีจิตผู้รู้ เราภาวนาไม่ได้จริงหรอก ภาวนาไม่ได้จริง พูดคำว่า “จิตผู้รู้” พวกที่เรียนอภิธรรมเรียนอะไร หรือเรียนสายปริยัติ เขาก็จะไม่เข้าใจ ก็จิตทุกดวงเป็นผู้รู้อยู่แล้ว คำว่า “เป็นผู้รู้” นี้เป็น Technical term ของครูบาอาจารย์วัดป่า จิตทุกดวงเป็นผู้รู้อยู่แล้ว อันนี้ไปทางปริยัติ เพราะจิตทำหน้าที่รู้ แต่จิตผู้รู้ มันเป็นจิตที่ถอนตัวออกจากปรากฎการณ์ คล้ายๆ อยู่เหนือปรากฎการณ์ของรูปธรรมนามธรรม
ไม่ใช่ถอดจิตไปอยู่บนหลังคา มันแยกในความรู้สึก มันเห็นกายก็อันหนึ่ง จิตก็อันหนึ่ง อย่างเดินจงกรม เห็นกายมันเดิน จิตเป็นคนดู รู้อิริยาบถ 4 เห็นอิริยาบถ 4 เห็นร่างกายเคลื่อนไหวไปในอิริยาบถ 4 จิตเป็นคนดู ทำอานาปานสติ ก็ไม่ใช่เอาแต่หายใจให้จิตสงบ ก็จะเห็นว่าร่างกายที่หายใจก็อันหนึ่ง จิตที่รู้ว่าร่างกายหายใจเป็นอีกอันหนึ่ง
ค่อยๆ ฝึก แล้วเราจะรู้เลยว่า การปฏิบัติธรรมจริงๆ ไม่ได้ยากเกินไป ธรรมะที่พระพุทธเจ้าสอน เป็นธรรมะที่พอดี สำหรับมนุษย์ธรรมดาๆ คนหนึ่ง อย่างพวกเราจะทำได้ ขอให้รู้วิธีเท่านั้น พระพุทธเจ้าไม่เอาอภิธรรมมาสอนมนุษย์เลย ไม่ได้สอนเท่าไรหรอก มีบ้างแบบปนๆ มา อย่างสอนเรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 6 ธาตุ 18 อินทรีย์ 22 ปฏิจจสมุปบาท พวกนี้เป็นอภิธรรมทั้งนั้น เราจะได้ยินคำว่า “อภิธรรม” ก็อย่าเพิ่งตกใจ อภิธรรม ที่เราภาวนาแล้ว เราเห็นสภาวะทั้งหลาย เรากำลังเรียนอภิธรรมอยู่
อย่างเราเห็นรูป ร่างกายที่มันเคลื่อนไหว มันรูป จิตมันเป็นคนดู เราเรียนอภิธรรม อภิธรรมเรียนเรื่องอะไร จิต เจตสิก รูป นิพพาน เรียนสิ่งเหล่านี้ ที่เราเรียนก็เรียนอย่างนี้ ที่เราหัดภาวนา เราก็เรียนรู้ ความเป็นไตรลักษณ์ของจิต เจตสิก รูปนั่นล่ะ พอเรียนถ่องแท้แล้ว จิตปล่อยวาง จิต เจตสิก รูปได้ ก็สัมผัสพระนิพพาน เห็น เข้าถึง เข้าถึงพระนิพพาน
การทำสมถะก็ต้องมีปัญญา เพราะฉะนั้นเราต้องรู้ การทำสมถะก็ต้องมีปัญญา ปัญญาอย่างแรก รู้วิธีปฏิบัติ แล้วสมถะมี 2 อัน แต่ละอันทำไม่เหมือนกัน อันหนึ่งน้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ที่มีความสุขอย่างต่อเนื่องจะได้สมถะ ได้สมาธิชนิดสงบ อีกอันหนึ่งก็ทำกรรมฐานอย่างเดิม แต่เปลี่ยนความสนใจมาจากอารมณ์ มารู้ทันจิตตนเอง อย่างถ้าเราใช้จิตตานุปัสสนา จิตโกรธเรารู้ว่าโกรธ ทันทีที่รู้ว่าโกรธ ความโกรธดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ
เรามีราคะ เรามีสติรู้ว่ามีราคะ ทันทีที่เกิดสติ จิตที่มีราคะดับไปเรียบร้อยแล้ว จิตที่มีสติเกิดขึ้นแทนที่แล้ว พอจิตที่มีสติที่เกิดขึ้นแทนที่นั้น มีสัมมาสมาธิประกอบอยู่ด้วยเรียบร้อยเสมอ อันนี้แบบใช้จิตตานุปัสสนา มันจะได้ทั้งสติ ได้ทั้งสมาธิ แล้วสุดท้ายก็มีปัญญา ถ้าใช้กายก็แบบเดียวกันนั่นล่ะ มีสติรู้สึกร่างกายไป
ต่อไปนี้หายใจออกรู้สึกตัว หายใจเข้ารู้สึกตัว เห็นไหมรู้สึกได้นิดเดียว แอบไปคิดเรื่องอื่นแล้ว หายใจไปแล้วแอบไปคิดเรื่องอื่น ทำอย่างไร รู้ว่าหนีไปคิดแล้ว หลงไปคิดแล้ว หลงไปคิดแล้วทำอย่างไร ไม่ต้องทำอย่างไร ขณะที่รู้ว่าหลงคิด จิตที่หลงคิดเป็นอดีตไปหมดแล้ว จิตดวงนี้ตั้งมั่นแล้ว แต่มันสั้นนิดเดียว มันดูยาก ทำบ่อยๆ แล้วมันจะดูได้
สอนกรรมฐานแล้วนึกถึงนิยาย เรื่องฤๅษีเลี้ยงลิง ลิงมันซน พวกเราก็มีลิงอยู่ในตัวเอง กระโดดโลดเต้น เดี๋ยวกระโดดไปทางตา เดี๋ยวกระโดดไปทางหู เดี๋ยวกระโดดไปทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ถ้ารู้ทันลิงตัวนี้ได้ก็โอเคแล้ว หรือเหมือนดูละครก็ได้ เวลาเราอยู่ในโลกนี้ ถ้าเรามีสติอยู่ เรารู้สึกเลย เรากำลังเล่นละครอยู่
การที่เรายิ้ม หัวเราะ หน้าบึ้ง ทางร่างกายเราก็เล่นละครอยู่ เราดูเหมือนดูละคร ในจิตใจก็เหมือนกัน เดี๋ยวตัวดีก็มา เดี๋ยวตัวร้ายก็มา เราก็ตามรู้ตามเห็นอย่างที่มันเป็น เหมือนเรากำลังดูละครอยู่ ละครโรงนี้ชื่อรูปนาม ชื่อกายชื่อใจ เรียนรู้มันไป ดูมันเหมือนดูละคร ดูละครก็คือไม่ต้องจริงจังมาก ดูคนอื่นเขาแสดง แสดงดีไม่ดี ดูไปแล้วโมโห ดูแล้วหมั่นไส้
อย่างดูละคร หลวงพ่อไม่ได้ดูมานานนักหนา ละครไทยหลังข่าวอะไรอย่างนี้ ไม่ชอบดูละครมาแต่ไหนแต่ไร ก็เห็นบ้างอะไรบ้างแบบไม่เจตนา สังเกตนางเอก ยุคนี้ไม่รู้เป็นอย่างไร นางเอกยุคก่อนเรียบร้อย สุภาพ งี่เง่า โดนเขารังแกก็ทำอะไรไม่ได้ ได้แต่ร้องไห้ พระเอกก็เข้าข้างแต่นางผู้ร้าย นางอิจฉา ตอนจบนางเอกชนะ เราดูไปเรื่อยๆ ทีแรกเราก็สงสารนางเอก แต่นางเอกมันโง่ตลอดกาล เราชักโมโหแล้ว
ใครเคยดูละครแล้วโมโหนางเอกไหม ทำไมมันสู้เขาไม่ได้สักที ตบมันเลย ก็เราไม่ใช่ผู้กำกับ เราสั่งให้นางเอกไปตบไม่ได้ เราเป็นแค่คนดู เราตามรู้ตามดู พระเอกก็เหมือนกัน เก่งสารพัดเลย เป็นนักเรียนนอก เป็นทายาทเศรษฐีใหญ่ แต่ถูกนางอิจฉาหลอก พล็อตเรื่องก็ซ้ำๆ อยู่แค่นี้ ไม่ค่อยมีอะไร หลังๆ ก็มีพล็อตเรื่องข้ามภพข้ามชาติ ข้ามมิติ ก็ลอกๆ กันไปทั่วโลก คนเรามันก็คิดได้แค่นี้ คิดในกรอบที่คุ้นเคย
เพราะฉะนั้นธรรมะคิดเอาไม่ได้ ธรรมะเป็นของที่เราไม่เคยรู้ ไม่เคยเห็น ฉะนั้นธรรมะคิดเอาไม่ได้ ปฏิบัติเอา ถ้าต้องการความสงบทำอย่างไร น้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ที่มีความสุขอย่างต่อเนื่อง ถ้าต้องการให้จิตตั้งมั่นทำอย่างไร รู้ทันพฤติกรรมของจิต จิตไหลไปทางตาก็รู้ ไหลไปทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ไหลไปทางใจคือไปคิดก็รู้ จิตก็จะไม่ไหล จิตที่ไม่ไหลไปคือจิตที่ตั้งมั่น
จิตที่ไหลไปหลวงปู่ดูลย์เรียกว่า “จิตออกนอก” จิตที่ออกนอก ไหลไปแล้วเป็นอะไร เป็นสมุทัย เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พอไหลออกไปมันก็หลงโลก มันก็สร้างความทุกข์ขึ้นมาให้ตัวเอง ท่านบอกว่า “ธรรมชาติของจิตย่อมส่งออกนอก” ฉะนั้นจิตไหลไม่ห้าม ห้ามไม่ได้ ไม่มีใครห้ามได้ จิตเป็นอนัตตา มีธรรมชาติที่จะออกรู้อารมณ์ เพียงแต่ว่าเมื่อมันออกรู้อารมณ์แล้ว ให้เรามีสติรู้ทันเท่านี้เอง จิตหลงไปดู มีสติรู้ จิตหลงไปฟัง มีสติรู้ จิตหลงไปฟัง มีสติรู้ จิตหลงไปคิด มีสติรู้ ไม่ได้แปลว่าห้ามดู ห้ามฟัง ห้ามคิด
ไปเห็นรูปสวย ถ้าเราเห็นได้เร็ว เราก็จะเห็นว่า ตอนนี้จิตหลงไปดู วงจรแห่งความปรุงแต่ง ก็ดับตรงนั้นเลย มีผัสสะปุ๊บ สติรู้ทัน ว่านี่กำลังดูรูปอยู่ นี่ก็แค่รูป ไม่ใช่ผู้หญิงสวย แต่เป็นรูปรูปหนึ่ง เห็นอย่างนี้ปุ๊บ ไม่ปรุงต่อแล้ว ถ้าตัวนี้ยังไม่ทัน ตาเห็นรูปแล้ว เกิดความรู้สึกสุขขึ้นมา รูปนี้สวยถูกอกถูกใจ มีความสุข เห็นคนนี้เกิดขึ้น มันมาให้เราเห็น ศัตรู ใจเราทุกข์ แล้วเดือดเร่าๆๆๆ แล้ว มีสติรู้ คอยรู้เวทนาที่เกิดขึ้น รู้สังขารที่เกิดขึ้นในใจเรา อันนี้ก็ยังดี ใช้ได้ แต่ถ้ามันครอบงำไปแล้ว อย่างไรก็ทุกข์ ใจเราต้องเป็นทุกข์แน่นอน
จับหลักได้ไหม ต้องการความสงบทำอย่างไร น้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ที่มีความสุขอย่างต่อเนื่อง แต่วงเล็บไว้นิดหนึ่ง (อารมณ์นั้นต้องไม่กระตุ้นกิเลส) ถ้าต้องการให้จิตตั้งมั่น ก็คือเมื่อมีการกระทบอารมณ์ ให้รู้ทันจิตตัวเอง รู้ทันจิต จิตมันก็กลับมาตั้งมั่นอัตโนมัติ แล้วถ้าจะทำวิปัสสนาทำอย่างไร เจริญปัญญา มีสติรู้รูปนามกายใจอย่างที่มันเป็น แต่เราต้องรู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น พอจิตเราตั้งมั่น เราจะเห็นรูปมันทำงาน เหมือนเราดูละครแล้ว เห็นนามธรรมมันทำงาน เหมือนเราดูละครแล้ว เป็นแค่คนดู
จิตตั้งมั่นเป็นแค่คนดู แล้วเราถึงจะเห็นความจริงของรูปของนามได้ การที่เราไม่ใช่ผู้แสดง แต่เราเป็นผู้ดู เราดูได้ชัดกว่าผู้แสดง ใครเคยดูมวยไหม ดูในทีวีก็ได้ สังเกตไหมว่าโคชเยอะมากเลย เห็นไหมตะโกนโหวกเหวกๆ ต่อยเลย เตะเลย เอ้า เตะขวา เตะน่อง เตะโน่น สอนกันเยอะแยะเลย ทำไมคนดูมันสอนเก่ง เพราะมันเป็นคนวงนอก มันรู้นักมวยคนนี้มีจุดอ่อนตรงไหน มันดูจากคนวงนอก ส่วนคนที่ไปชกจริง มันเมาหมัด มันดูไม่ออก
กรรมฐานก็เหมือนกัน ต้องดูแบบคนวงนอก จิตตั้งมั่นเป็นแค่คนดู แล้วเราถึงจะเห็นอะไรชัด เห็นความจริงของรูปของนามได้ ถ้าจิตเราไหลเข้าไปคลุกวงใน ดูอะไรไม่รู้เรื่องหรอก ตัวนี้เป็นตัวแตกหักเลย ที่ว่าภาวนากันแล้ว ทำไมเข้าไม่ถึงมรรคผลกันเสียที เพราะจิตมันไม่ตั้งมั่น พอจิตตั้งมั่น ไปเห็นรูปเห็นนามกระทบอารมณ์แล้ว บางทีมันไม่สักว่ากระทบหรอก มันแถมด้วยความยินดียินร้ายเข้ามาด้วย
เห็นผู้หญิงสวย จิตมีราคะขึ้นมา ชอบ พอเราชอบผู้หญิงคนนั้น ราคะนี้เราปล่อยทิ้งแล้ว มีก็ไม่เป็นไร ไม่สนใจมันแล้ว ก็ให้รู้ทันตัวเอง ไปชอบเขาแล้วก็ให้รู้ หรือเวลาความสุขเกิดขึ้น เรารู้ว่ามีความสุข แล้วเราชอบความสุขที่เกิดขึ้น อันนี้ก็ให้รู้ว่าชอบ จิตไม่เป็นกลาง เพราะฉะนั้นจิตตั้งมั่นแล้วเห็นสภาวะ ก็ยังมีปัญหาอีก มันอาจจะไม่เป็นกลางกับสภาวะขึ้นมาอีก ถ้ามันเกิดไม่เป็นกลางกับสภาวะ ให้รู้ทันลงไปอีกชั้นหนึ่ง จิตยินดีให้รู้ทัน จิตยินร้ายให้รู้ทัน
อย่างเวลาเราเห็นคนหนึ่ง เราไม่ชอบ พอเห็นปุ๊บความโกรธเกิด เรามีสติรู้ความโกรธ ถ้าเห็นจิตมันจะตั้งมั่นขึ้นมา แต่ว่าพอเห็นแล้ว มันไปเกิดความเกลียดคนนี้ แล้วมันไปเกิดความเกลียดความโกรธของตัวเอง ใครเคยโมโหตัวเองไหม ลองยกมือหน่อย มีไหม ใครเคยโกรธตัวเองบ้าง เห็นไหมเป็นทุกคนล่ะ เพราะฉะนั้นเวลาเรากระทบอารมณ์อันหนึ่งแล้ว จิตมันยังมีปฏิกิริยาต่อเนื่อง มีปฏิกิริยาลูกโซ่ เป็นความยินดียินร้าย ให้รู้ทันตัวนี้เข้าไป ตัวนี้เป็นปัจจุบัน ส่วนความรู้สึกอันแรกจบไปแล้ว แล้วเกิดความยินดียินร้ายขึ้นมาแทนที่ ยินดียินร้ายเลยเป็นปัจจุบัน
เพราะฉะนั้นถ้าเราดู ดูความโกรธ แล้วทำไมมันไม่หายสักที เราดูไม่เป็นหรอก อย่างเวลาเราเห็นจิตโกรธ เราไม่ชอบ ความโกรธ สมมติว่าโกรธนายคนนี้ โกรธครูบา เอ๊ะ ทำไมไม่หายสักที มองหน้าครูบาไปแล้ว เมื่อไรจะหายโกรธ ก็เอาเชื้อเพลิงใส่เข้าไปเรื่อยๆ แล้วตรงที่อยากหายโกรธนั้น จิตมันไม่ชอบความโกรธ เคยเห็นไหม ตัวนี้สำคัญ มันละเอียดมากขึ้น มากกว่าที่จะรู้ว่าตอนนี้โลภ โกรธ หลงอะไร คือรู้ว่าตอนนี้กำลังยินดีกับอารมณ์อันนี้ กำลังยินร้ายกับอารมณ์อันนี้
รู้ทันตัวนี้เข้าไป ตัวนี้ละเอียดมากกว่าการรู้โลภ โกรธ หลง เสียอีก มากกว่ารู้กุศล มากกว่ารู้สุขรู้ทุกข์ ความสุขเกิดขึ้น รู้ว่ามีความสุข เออ เก่ง ยินดีในความสุขเห็นไหม ถ้าไม่เห็นก็จะติดสุข ความทุกข์เกิดขึ้น รู้ว่ามีความทุกข์ ก็เก่งระดับหนึ่ง รู้ไหมว่ากำลังเกลียดความทุกข์ ถ้ารู้นี้เก่งจริง ถ้าไม่รู้ว่ากำลังเกลียดความทุกข์อยู่ ไม่เก่งจริง อย่างเวลาเรามีความทุกข์ เราดูจิต เราก็เมื่อไรมันจะหาย เมื่อไรมันจะหาย อันนี้ดูด้วยความเกลียดความทุกข์ ความเกลียดอยู่ในตระกูลอะไร ตระกูลโทสะ
เพราะฉะนั้นความทุกข์นั้นไม่หายหรอก เราเอาโทสะมาใส่เข้าไปอีก เรายิ่งทุกข์หนักกว่าเก่าอีก ฉะนั้นเวลาที่เราเดินปัญญา รู้สภาวะที่กำลังมีกำลังเป็น แล้วก็จิตใจเราเกิดปฏิกิริยาอย่างไร ยินดีให้รู้ทัน ยินร้ายให้รู้ทัน จิตก็จะไม่ใช่แค่ตั้งมั่น แต่ว่าจะตั้งมั่นแล้วก็เป็นกลางด้วย คือจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางนี้ล่ะ คือจิตที่เดินปัญญาได้อย่างแท้จริง ทำวิปัสสนาได้อย่างแท้จริง ลำพังจิตตั้งมั่น แต่ว่ายังไม่เป็นกลางง่ายๆ ตั้งมั่นแล้วเดี๋ยวก็ไหลอีกแล้ว ยินดีบ้าง ยินร้ายบ้าง
เห็นกิเลสก็เกลียด เห็นกุศลก็ชอบ อันนี้ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นกลางจิตก็ดิ้นรนมากต่อไปอีก ปรุงแต่งต่อไปอีก ก็ยังใช้ไม่ได้ ค่อยๆ ฝึกไป เพราะฉะนั้นทีแรกรู้สภาวะที่มีที่เป็น รู้ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ใจ แล้วปฏิกิริยาชั้นลึกลงไป ก็คือยินดียินร้าย รู้ลงไป ไม่ต้องพยายามดู ดูเท่าที่ดูได้ ไม่ใช่มานั่งอยู่ตอนนี้ ไหนตอนนี้ยินดีหรือยินร้าย นี่คิดเอาแล้ว ฟุ้งซ่านแล้ว ต้องดูเอา
หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม 7 กันยายน 2567
主题: 中文书籍 · 阿紫翻译 · 中文字幕 · 法谈摘录 · 法译文集 | |||
---|---|---|---|
法语微言 · 学篇 · 戒学篇 · 心学篇 · 心念处篇 · 身念处篇 · 慧学篇 · 五蕴篇 · 奢摩他篇 · 毗钵舍那篇 · 觉性篇 · 四圣谛篇 · 八支圣道篇 · 解脱篇 |
首页 · 历届中文 · ไทย · EN课程总览 | |
---|---|
中国 | C:1 · 2 · 3 |
泰国 | T:1 · 2 · 3 · 4 · 5 · 6 · 7 · 8 · 9 · 10 · 11 · 12 · ☆第13届泰国四念处课程实录 |
大马 | M:1 · 2 |
远程 | E:1 · 2 · 3 · 4 · 5 · 6 · 7 |
日常 | D:2013 · 2014 · 2015 · 2016 · 2017 · 2018 · 2019 · 2020 · 2021 · 2022 · 2023 · ☆2024年度最新视频回放 · 本年网盘 |
注:C-国内 · T-泰国 · M-大马 · E-远程 · D-日常 · 帮助文档 |
媒体平台 |
---|
法堂直播·简版直播 · 法藏资源 · 法宝云盘 · 法讯互助 | 公号:禅窗 · 甘露雨 · 指月录 · 当下就启程吧 · 温柔的法音 · Go Sati |
全球: 解脱园 · 甘露雨 · 甘露雨APP · 千聊 · 四念处 | Podcast-中 · Podcast-EN · Podcast-ไทย · 四念處學會| 海外: YT·Audio-中 · YT-中· YT-ไทย · YT-EN · FB-中 · FB-ไทย · FB-EN · 靜慮林 |