匿名
未登录
中文(简体)
登录
法藏
搜索
有觉性 以安住且中立的心 照见身心的实相
导出翻译
来自法藏
命名空间
更多
更多
页面操作
语言统计
消息组统计
导出
设置
组
ABBREVIATIONS
ANUMODANĀ
Buddhadhamma-The Laws of Nature and Their Benefits to Life-by Bhikkhu P. A. Payutto
D17.26《八支圣道》-隆波帕默尊者-2017年12月24日
D24.65《要小心因禅定而引发的邪见》- 隆波帕默尊者-2024年8月4日
D24.67《吉祥的生活始于结交善友》-隆波帕默尊者-2024年8月11日
D24.73《拥有什么,都会因此而苦》-隆波帕默尊者-2024年8月31日
D24.76《隆波帕默尊者开示》-2024年9月7日
D24.79《隆波帕默尊者开示》-2024年9月15日
D24.84《隆波帕默尊者开示》-2024年10月5日
FOREWORD BY THE PRESIDENT OF THE BUDDHADHAMMA FOUNDATION
FOREWORD BY THE TRANSLATOR
FOREWORD BY VEN. AJAHN JAYASARO
INTRODUCTION
PART 1: MIDDLE TEACHING
คุณสมบัติของชาวพุทธที่ดี
ร่างกายโดนความทุกข์ขย้ำอยู่ตลอดเวลา
อยู่กับโลกให้เป็นจะภาวนาง่าย-11 สิงหาคม 2567
เราสามารถปฏิบัติธรรมได้ตลอดเวลา
อยู่กับโลกให้เป็นจะภาวนาง่าย-11 สิงหาคม 2567
语言
aa - Afar
ab - Abkhazian
abs - Ambonese Malay
ace - Achinese
ady - Adyghe
ady-cyrl - Adyghe (Cyrillic script)
aeb - Tunisian Arabic
aeb-arab - Tunisian Arabic (Arabic script)
aeb-latn - Tunisian Arabic (Latin script)
af - Afrikaans
ak - Akan
aln - Gheg Albanian
alt - Southern Altai
am - Amharic
ami - Amis
an - Aragonese
ang - Old English
anp - Angika
ar - Arabic
arc - Aramaic
arn - Mapuche
arq - Algerian Arabic
ary - Moroccan Arabic
arz - Egyptian Arabic
as - Assamese
ase - American Sign Language
ast - Asturian
atj - Atikamekw
av - Avaric
avk - Kotava
awa - Awadhi
ay - Aymara
az - Azerbaijani
azb - South Azerbaijani
ba - Bashkir
ban - Balinese
ban-bali - ᬩᬲᬩᬮᬶ
bar - Bavarian
bbc - Batak Toba
bbc-latn - Batak Toba (Latin script)
bcc - Southern Balochi
bci - Baoulé
bcl - Central Bikol
be - Belarusian
be-tarask - Belarusian (Taraškievica orthography)
bg - Bulgarian
bgn - Western Balochi
bh - Bhojpuri
bho - Bhojpuri
bi - Bislama
bjn - Banjar
blk - Pa'O
bm - Bambara
bn - Bangla
bo - Tibetan
bpy - Bishnupriya
bqi - Bakhtiari
br - Breton
brh - Brahui
bs - Bosnian
btm - Batak Mandailing
bto - Iriga Bicolano
bug - Buginese
bxr - Russia Buriat
ca - Catalan
cbk-zam - Chavacano
cdo - Min Dong Chinese
ce - Chechen
ceb - Cebuano
ch - Chamorro
cho - Choctaw
chr - Cherokee
chy - Cheyenne
ckb - Central Kurdish
co - Corsican
cps - Capiznon
cr - Cree
crh - Crimean Tatar
crh-cyrl - Crimean Tatar (Cyrillic script)
crh-latn - Crimean Tatar (Latin script)
cs - Czech
csb - Kashubian
cu - Church Slavic
cv - Chuvash
cy - Welsh
da - Danish
dag - Dagbani
de - German
de-at - Austrian German
de-ch - Swiss High German
de-formal - German (formal address)
din - Dinka
diq - Zazaki
dsb - Lower Sorbian
dtp - Central Dusun
dty - Doteli
dv - Divehi
dz - Dzongkha
ee - Ewe
egl - Emilian
el - Greek
eml - Emiliano-Romagnolo
en - English
en-ca - Canadian English
en-gb - British English
eo - Esperanto
es - Spanish
es-419 - Latin American Spanish
es-formal - Spanish (formal address)
et - Estonian
eu - Basque
ext - Extremaduran
fa - Persian
fat - Fanti
ff - Fulah
fi - Finnish
fit - Tornedalen Finnish
fj - Fijian
fo - Faroese
fon - Fon
fr - French
frc - Cajun French
frp - Arpitan
frr - Northern Frisian
fur - Friulian
fy - Western Frisian
ga - Irish
gaa - Ga
gag - Gagauz
gan - Gan Chinese
gan-hans - Gan (Simplified)
gan-hant - Gan (Traditional)
gcr - Guianan Creole
gd - Scottish Gaelic
gl - Galician
gld - Nanai
glk - Gilaki
gn - Guarani
gom - Goan Konkani
gom-deva - Goan Konkani (Devanagari script)
gom-latn - Goan Konkani (Latin script)
gor - Gorontalo
got - Gothic
gpe - Ghanaian Pidgin
grc - Ancient Greek
gsw - Swiss German
gu - Gujarati
guc - Wayuu
gur - Frafra
guw - Gun
gv - Manx
ha - Hausa
hak - Hakka Chinese
haw - Hawaiian
he - Hebrew
hi - Hindi
hif - Fiji Hindi
hif-latn - Fiji Hindi (Latin script)
hil - Hiligaynon
ho - Hiri Motu
hr - Croatian
hrx - Hunsrik
hsb - Upper Sorbian
hsn - Xiang Chinese
ht - Haitian Creole
hu - Hungarian
hu-formal - Hungarian (formal address)
hy - Armenian
hyw - Western Armenian
hz - Herero
ia - Interlingua
id - Indonesian
ie - Interlingue
ig - Igbo
ii - Sichuan Yi
ik - Inupiaq
ike-cans - Eastern Canadian (Aboriginal syllabics)
ike-latn - Eastern Canadian (Latin script)
ilo - Iloko
inh - Ingush
io - Ido
is - Icelandic
it - Italian
iu - Inuktitut
ja - Japanese
jam - Jamaican Creole English
jbo - Lojban
jut - Jutish
jv - Javanese
ka - Georgian
kaa - Kara-Kalpak
kab - Kabyle
kbd - Kabardian
kbd-cyrl - Kabardian (Cyrillic script)
kbp - Kabiye
kcg - Tyap
kea - Kabuverdianu
kg - Kongo
khw - Khowar
ki - Kikuyu
kiu - Kirmanjki
kj - Kuanyama
kjp - Eastern Pwo
kk - Kazakh
kk-arab - Kazakh (Arabic script)
kk-cn - Kazakh (China)
kk-cyrl - Kazakh (Cyrillic script)
kk-kz - Kazakh (Kazakhstan)
kk-latn - Kazakh (Latin script)
kk-tr - Kazakh (Turkey)
kl - Kalaallisut
km - Khmer
kn - Kannada
ko - Korean
ko-kp - Korean (North Korea)
koi - Komi-Permyak
kr - Kanuri
krc - Karachay-Balkar
kri - Krio
krj - Kinaray-a
krl - Karelian
ks - Kashmiri
ks-arab - Kashmiri (Arabic script)
ks-deva - Kashmiri (Devanagari script)
ksh - Colognian
ksw - S'gaw Karen
ku - Kurdish
ku-arab - Kurdish (Arabic script)
ku-latn - Kurdish (Latin script)
kum - Kumyk
kv - Komi
kw - Cornish
ky - Kyrgyz
la - Latin
lad - Ladino
lb - Luxembourgish
lbe - Lak
lez - Lezghian
lfn - Lingua Franca Nova
lg - Ganda
li - Limburgish
lij - Ligurian
liv - Livonian
lki - Laki
lld - Ladin
lmo - Lombard
ln - Lingala
lo - Lao
loz - Lozi
lrc - Northern Luri
lt - Lithuanian
ltg - Latgalian
lus - Mizo
luz - Southern Luri
lv - Latvian
lzh - Literary Chinese
lzz - Laz
mad - Madurese
mai - Maithili
map-bms - Basa Banyumasan
mdf - Moksha
mg - Malagasy
mh - Marshallese
mhr - Eastern Mari
mi - Maori
min - Minangkabau
mk - Macedonian
ml - Malayalam
mn - Mongolian
mni - Manipuri
mnw - Mon
mo - Moldovan
mos - Mossi
mr - Marathi
mrh - Mara
mrj - Western Mari
ms - Malay
ms-arab - Malay (Jawi script)
mt - Maltese
mus - Muscogee
mwl - Mirandese
my - Burmese
myv - Erzya
mzn - Mazanderani
na - Nauru
nah - Nāhuatl
nan - Min Nan Chinese
nap - Neapolitan
nb - Norwegian Bokmål
nds - Low German
nds-nl - Low Saxon
ne - Nepali
new - Newari
ng - Ndonga
nia - Nias
niu - Niuean
nl - Dutch
nl-informal - Dutch (informal address)
nmz - Nawdm
nn - Norwegian Nynorsk
no - Norwegian
nod - Northern Thai
nov - Novial
nqo - N’Ko
nrm - Norman
nso - Northern Sotho
nv - Navajo
ny - Nyanja
nyn - Nyankole
nys - Nyungar
oc - Occitan
ojb - Northwestern Ojibwe
olo - Livvi-Karelian
om - Oromo
or - Odia
os - Ossetic
pa - Punjabi
pag - Pangasinan
pam - Pampanga
pap - Papiamento
pcd - Picard
pcm - Nigerian Pidgin
pdc - Pennsylvania German
pdt - Plautdietsch
pfl - Palatine German
pi - Pali
pih - Norfuk / Pitkern
pl - Polish
pms - Piedmontese
pnb - Western Punjabi
pnt - Pontic
prg - Prussian
ps - Pashto
pt - Portuguese
pt-br - Brazilian Portuguese
pwn - Paiwan
qqq - Message documentation
qu - Quechua
qug - Chimborazo Highland Quichua
rgn - Romagnol
rif - Riffian
rm - Romansh
rmc - Carpathian Romani
rmy - Vlax Romani
rn - Rundi
ro - Romanian
roa-tara - Tarantino
rsk - Pannonian Rusyn
ru - Russian
rue - Rusyn
rup - Aromanian
ruq - Megleno-Romanian
ruq-cyrl - Megleno-Romanian (Cyrillic script)
ruq-latn - Megleno-Romanian (Latin script)
rw - Kinyarwanda
ryu - Okinawan
sa - Sanskrit
sah - Sakha
sat - Santali
sc - Sardinian
scn - Sicilian
sco - Scots
sd - Sindhi
sdc - Sassarese Sardinian
sdh - Southern Kurdish
se - Northern Sami
se-fi - davvisámegiella (Suoma bealde)
se-no - davvisámegiella (Norgga bealde)
se-se - davvisámegiella (Ruoŧa bealde)
sei - Seri
ses - Koyraboro Senni
sg - Sango
sgs - Samogitian
sh - Serbo-Croatian
shi - Tachelhit
shi-latn - Tachelhit (Latin script)
shi-tfng - Tachelhit (Tifinagh script)
shn - Shan
shy - Shawiya
shy-latn - Shawiya (Latin script)
si - Sinhala
simple - Simple English
sjd - Kildin Sami
sje - Pite Sami
sk - Slovak
skr - Saraiki
skr-arab - Saraiki (Arabic script)
sl - Slovenian
sli - Lower Silesian
sm - Samoan
sma - Southern Sami
smn - Inari Sami
sms - Skolt Sami
sn - Shona
so - Somali
sq - Albanian
sr - Serbian
sr-ec - Serbian (Cyrillic script)
sr-el - Serbian (Latin script)
srn - Sranan Tongo
sro - Campidanese Sardinian
ss - Swati
st - Southern Sotho
stq - Saterland Frisian
sty - Siberian Tatar
su - Sundanese
sv - Swedish
sw - Swahili
syl - Sylheti
szl - Silesian
szy - Sakizaya
ta - Tamil
tay - Tayal
tcy - Tulu
tdd - Tai Nuea
te - Telugu
tet - Tetum
tg - Tajik
tg-cyrl - Tajik (Cyrillic script)
tg-latn - Tajik (Latin script)
th - Thai
ti - Tigrinya
tk - Turkmen
tl - Tagalog
tly - Talysh
tly-cyrl - толыши
tn - Tswana
to - Tongan
tpi - Tok Pisin
tr - Turkish
tru - Turoyo
trv - Taroko
ts - Tsonga
tt - Tatar
tt-cyrl - Tatar (Cyrillic script)
tt-latn - Tatar (Latin script)
tum - Tumbuka
tw - Twi
ty - Tahitian
tyv - Tuvinian
tzm - Central Atlas Tamazight
udm - Udmurt
ug - Uyghur
ug-arab - Uyghur (Arabic script)
ug-latn - Uyghur (Latin script)
uk - Ukrainian
ur - Urdu
uz - Uzbek
uz-cyrl - Uzbek (Cyrillic script)
uz-latn - Uzbek (Latin script)
ve - Venda
vec - Venetian
vep - Veps
vi - Vietnamese
vls - West Flemish
vmf - Main-Franconian
vmw - Makhuwa
vo - Volapük
vot - Votic
vro - Võro
wa - Walloon
war - Waray
wls - Wallisian
wo - Wolof
wuu - Wu Chinese
xal - Kalmyk
xh - Xhosa
xmf - Mingrelian
xsy - Saisiyat
yi - Yiddish
yo - Yoruba
yrl - Nheengatu
yue - Cantonese
za - Zhuang
zea - Zeelandic
zgh - Standard Moroccan Tamazight
zh - Chinese
zh-cn - Chinese (China)
zh-hans - Simplified Chinese
zh-hant - Traditional Chinese
zh-hk - Chinese (Hong Kong)
zh-mo - Chinese (Macau)
zh-my - Chinese (Malaysia)
zh-sg - Chinese (Singapore)
zh-tw - Chinese (Taiwan)
zu - Zulu
ilo - Iloko
格式
导出离线翻译文件
以原始格式导出
以 CSV 格式导出
获取
<languages/> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อยู่กับโลกให้เป็นจะภาวนาง่าย โลกมันก็วุ่นวายไม่มีวันจบสิ้นเป็นธรรมดาของโลก อยู่กับโลก ถ้ารู้จักมันแล้วก็อยู่ได้อย่างสบายหน่อย มีความสุขหน่อย ถ้าเราไม่รู้จัก ไม่เข้าใจ ชีวิตไม่มีความสุข ธรรมะประจําโลกที่เราต้องเข้าใจ เรียกโลกธรรม ดูรายละเอียดเอาเองในอินเทอร์เน็ตมีเยอะแยะ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> สิ่งที่คนในโลกปรารถนา อยากได้ผลประโยชน์ พอมีผลประโยชน์แล้วก็รู้สึกยังไม่มั่นคง ต้องมีอํานาจด้วย มีตําแหน่งหน้าที่ใหญ่ๆ มีอํานาจแล้วก็ยังอยากได้บริวารเพื่อความมั่นคงมากขึ้น ไปไหนก็ต้องมีการแซ่ซ้องสรรเสริญ มีคนแวดล้อมเยอะๆ สุดยอดความปรารถนา คิดว่ามีความสุข พวกนี้ไม่เข้าใจความจริงของโลก มีผลประโยชน์คือมีลาภสักการะ มันมีความเสื่อมลาภเป็นของคู่กัน มียศ มีตําแหน่งหน้าที่ ก็มีความเสื่อมจากยศ หมดตําแหน่งหมดหน้าที่ มีสรรเสริญได้ก็มีคนด่า อย่างสังเกตดูคนใหญ่คนโต พอหมดอํานาจ คนก็ด่าเละเลย ในบ้านเราก็จะมีทางโซเชียล เราจะเห็นเยอะแยะเลย จังหวะนี้คนนี้ท่าทางจะแข็งแกร่งขึ้นมา คนก็ชมกันใหญ่ พวกที่อยากด่าก็เงียบไว้ก่อน พอเขาพลาดพลั้งอะไร พวกที่เคยชมเงียบหมดเลย มีแต่คนออกมาด่าอะไรอย่างนี้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ฆราวาสเรียนเฉพาะธรรมะที่จะไปนิพพาน ไม่พอ โลกมันเป็นอย่างนี้ มีสุขได้ก็มีทุกข์ได้ ฉะนั้นธรรมะประจําโลกมันไม่ได้มีด้านดีด้านเดียว ไม่ได้มีแต่ด้านเจริญ สิ่งที่คู่กับด้านเจริญคือด้านเสื่อม มีลาภมีผลประโยชน์ บางทีก็เสียไป ยิ่งยุคนี้เสียง่ายมากเลย เราเก็บเงินใส่ธนาคารไว้เฉยๆ ถึงวันดีคืนดีหายไปหมดเลย ไม่มีใครรับผิดชอบ มันเสื่อมแบบน่าตกใจในไม่กี่วินาที </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ดูบางคน มียศมีตําแหน่ง แย่งชิงกัน แย่งชิงอยากเป็นเฮดของหน่วยงาน ปัดแข้งปัดขากัน และคิดว่าได้ตรงนี้มาแล้วจะดี ก็ไม่เห็นจะดีตรงไหน ชีวิตเต็มไปด้วยความหวาดระแวง ในโลกมันมีของคู่กันคือความเจริญกับความเสื่อม ถ้าเราอยากอยู่กับมันอย่างมีความสุข ก็ต้องรู้จักความจริงของโลก อย่าไปหลงกับมันมาก </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ธรรมะที่พระพุทธเจ้าสอนให้พวกเราอยู่กับโลกมีจํานวนมาก ไม่ใช่สอนแต่ให้ไปนิพพานอย่างเดียว พวกเราเป็นฆราวาส จะไปเรียนเฉพาะธรรมะที่จะไปนิพพานไม่พอหรอก ต้องรู้จักการดำรงชีวิตอยู่ในโลกให้ดี ความสุขในโลก เป็นความสุขที่พระพุทธเจ้าท่านแจกแจงไว้ ความสุขจากการมีทรัพย์ มีมาด้วยความสุจริตแล้วมันจะอิ่มอกอิ่มใจ ถ้ามีด้วยความทุจริตไม่อิ่มอกอิ่มใจ มีแต่ความหวาดระแวง ทําอย่างไรจะมีทรัพย์ ท่านก็สอนละเอียดลงไปอีก รู้จักแสวงหาในทางที่ถูกที่ควร รู้จักเก็บรักษา รู้จักคบคนที่ดี รู้จักใช้ชีวิตที่พอเหมาะพอควรกับฐานะ ท่านสอนละเอียด แม้กระทั่งเรื่องโลกๆ เราอย่าคิดว่าท่านสอนแต่ทางปฏิบัติเพื่อไปพระนิพพาน </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> จุดสําคัญให้ดี สังเกตให้ดี สิ่งที่ท่านย้ำมากเลยคือการคบคน อย่างเราอยากร่ำรวยแต่เราคบคนไม่ดี ก็ชักพาเราหายนะได้ เราอยากรักษาศีล ปฏิบัติธรรม เราคบคนไม่ดี มันก็ลากเราไปทางอื่น ฉะนั้นเวลาคบคนต้องรู้จักเลือก อันนี้เรื่องใหญ่มากเลย เราคบคนประเภทไหนเราก็จะกลายเป็นคนประเภทนั้น ฉะนั้นอยากให้ชีวิตเราเจริญรุ่งเรือง เรียกว่ามีมงคลชีวิต ข้อแรก อย่าคบคนพาล คนที่มันไม่รู้จักผิดชอบชั่วดี คนที่มันจะชักนําเราไปในทางที่จะไปอบาย ต้องรู้จักสิ่งเหล่านี้ เลือกคบคนให้ดี อย่างหลวงพ่อตอนเป็นฆราวาส หลวงพ่อคบคนไม่มาก แต่คบกันจริง มีอยู่ไม่กี่คน คน 2 คนเท่านั้นเอง เป็นเพื่อนไปวัดด้วยกัน ไปเรียนธรรมะด้วยกัน คอยกระตุ้นเตือนกันไม่ให้ขี้เกียจ ถ้าใครจะออกนอกลู่นอกทาง อีกคนหนึ่งก็เตือน ช่วงนี้ย่อหย่อนไปหน่อยแล้วอะไรอย่างนี้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ถ้าเราคบคนซึ่งเป็นกัลยาณมิตรก็เป็นมงคลชีวิต ถ้าคบคนพาลเราก็เสื่อม เพราะฉะนั้นการเลือกคบคนสคัญมาก ไม่ต้องมีเพื่อนเยอะหรอก มีเพื่อนดีก็พอแล้ว 1 – 2 คนก็ยังดี คนจำนวนมากไม่ใช่ที่จะตอบโจทย์เราได้ เฮๆ ไปกัน เลอะเทอะวุ่นวาย กระทั่งแห่กันไปวัด เที่ยวตระเวนวัดโน้นวัดนี้ ไปตามข่าวลือ ตรงนี้ดีๆ ดีไม่ดีมันอยู่ที่ตัวเอง ทำตัวเองดีมันก็ดี ทำตัวเองชั่วอย่างไรมันก็ชั่ว ให้ไปกราบพระอรหันต์มันก็ยังชั่วอยู่นั่นล่ะ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ถ้าเราเข้าใจโลกเข้าใจชีวิต เราก็จะใช้ชีวิตอยู่กับโลก แบบทุกข์น้อยๆ ทุกข์น้อยๆ มันก็รู้สึกมีความสุขเยอะ เราอาจจะไม่รวยมาก อย่างพระพุทธเจ้าบอกความสุขของฆราวาส ของผู้ครองเรือนสุขจากการมีทรัพย์ ไม่ได้มีทรัพย์ด้วยการจี้ปล้นเขา แต่ต้องมีทรัพย์อย่างสุจริต อาจจะไม่รวยมาก พออยู่พอกินอะไรอย่างนี้ ชีวิตรู้จักสันโดษ เราทําเต็มที่แล้วได้แค่นี้ ชีวิตมันก็อิ่มอกอิ่มใจ เราไม่ได้โกงใครเขามา พวกโกงฉ้อราษฎร์บังหลวง ขายชาติอะไร ดูเถอะมันไม่มีความสุขเลย ชีวิตมันสกปรก </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> มีความสุขจากการใช้ทรัพย์ มีความสุขจากการมีทรัพย์อย่างสุจริต ใช้ทรัพย์ถูกควรสมกับฐานะของเรา ก็จะมีความสุข มีสุขจากการไม่มีหนี้ ทุกวันนี้พยายามกระตุ้นให้มีหนี้ มีหนี้ระดับชาติมีหนี้ระดับครัวเรือน บางประเทศหนี้ระดับชาติระดับครัวเรือนเกินกว่ารายได้ของชาติทั้งชาติทั้งปีเลย แล้วมันจะมีความสุขตรงไหน ทํามาหากินได้ก็ไปใช้ดอกเบี้ย อย่างบางประเทศเห็นแล้วสังเวชใจเลย เคยอยู่เคยกิน มีอยู่มีกินตามอัตภาพ ไม่ร่ำรวยแต่ไม่อดอยาก อยากเจริญเร็วๆ กู้หนี้ยืมสินเขามา สุดท้ายก็ไม่มีปัญญาใช้หนี้เขา เขาก็ยึดกิจการที่เอาไว้ค้ำประกันหนี้ เขายึดกันหมดประเทศแล้ว กลายเป็นเมืองขึ้นทางเศรษฐกิจไปโดยไม่รู้ตัวเลย เพราะว่าไม่รู้จักประมาณตัวเอง นั่นระดับชาติ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ระดับครัวเรือนของเราก็เหมือนกัน ไม่จําเป็นจะมีหนี้ก็อย่าไปมี ถ้าจะมีหนี้ก็ต้องเป็นหนี้ที่เราสามารถใช้ได้ กู้มาทํากิจการ ทํามาค้าขาย มีรายได้ เอาไปใช้หนี้ได้ด้วย เอามาอยู่เอามากินได้ด้วยอย่างนี้ไม่เป็นไรหรอก กู้มาแล้วก็สนุก รูดบัตรไปเรื่อยๆ อนาถ สังคมเรามันไม่มีศีลมีธรรม ไม่รู้จักประมาณ อย่างข้าราชการบางกลุ่ม เป็นหนี้มหาศาลเลย วันดีคืนดีก็ประกาศว่าจะไม่ใช้หนี้แล้ว มันย่ำแย่ เราเห็นตัวอย่างอย่างนี้ เราก็เจียมเนื้อเจียมตัวเรา คนเป็นหนี้ไม่มีความสุขหรอก คนไม่มีหนี้มีความสุข พระพุทธเจ้าสอนเป็นสุขจากการไม่มีหนี้ บอกความสุขของผู้ครองเรือน ความสุขจากการมีทรัพย์ ความสุขจากการใช้ทรัพย์ให้เป็นประโยชน์ ความสุขจากความไม่มีหนี้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> แล้วก็ความสุขอีกอันหนึ่งสําหรับฆราวาสผู้ครองเรือน คืออยู่แบบไม่มีโทษ มีความประพฤติที่ไม่มีโทษมีภัยต่อตัวเอง ต่อคนอื่น ต่อสังคม ต่อชาติบ้านเมือง บางคนไม่มีเลย คนมีความประพฤติที่ทําส่วนรวมเสียหาย พวกนี้ไม่มีวันมีความสุข บางทีก็โดนเขาหลอก เขาหลอกเป็นเครื่องมือ ติดคุกบ้าง ไปตีกันตายบ้าง คนหลอกมันสบาย มันไม่ได้เดือดร้อน ลอยตัว </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อยู่กับโลก ต้องรู้จักมัน ต้องเข้าใจมัน ถ้าเราอยู่กับโลก จิตใจเราสงบสุข สบายตามสมควรกับอัตภาพแล้ว การที่เราจะมาถือศีลมาภาวนามันจะไม่มีเครื่องกังวลใจ อย่างบางคนเป็นหนี้บอล เจ้าหนี้ตามฆ่า หนีมาภาวนาในวัด หลบมาอยู่ตามวัด ใจมันจะสงบไหม ใจไม่มีทางสงบหรอก มันก็หวาดระแวงว่าเขาจะมาฆ่าเมื่อไร เพราะฉะนั้นการประพฤติตัวให้สะอาดหมดจดสำคัญ จะทำให้เรามีความสุข ถ้าเมื่อไรเราย้อนมาดูตัวเองแล้วเราไม่เห็นข้อบกพร่อง ผิดศีลผิดธรรม หรือบางทีมองตัวเองไม่ออก พรรคพวกเพื่อนฝูงที่ดีเขาก็เห็นว่าเราดีจริง หรือครูบาอาจารย์เห็นว่าเราดีจริง คนอย่างนี้ใจมันสงบสุข </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อยู่ในโลกทําตัวให้ดีก่อน แล้วลงมือปฏิบัติให้จริงจัง ถ้าเราใช้ชีวิตอย่างสะอาดหมดจด เวลาเราลงมือภาวนาจิตมันจะรวมง่าย หายใจไม่กี่รอบก็จิตรวมแล้ว ถ้าฝึกจนชนิชํานาญ นึกอยากให้จิตรวมก็รวมทันทีเลย แต่ถ้าใจเราเศร้าหมอง มีแต่เรื่องชั่วๆ มีแต่ความหวาดระแวง กลัวคนจับได้อะไรอย่างนี้ นั่งให้ตายมันก็ไม่รวมหรอก จิตมันภาวนาไม่ได้ เพราะฉะนั้นถ้าเป็นฆราวาสอยู่กับโลกอยู่อย่างฉลาด ลองไปศึกษาธรรมะที่พระพุทธเจ้าสอนสำหรับการอยู่กับโลก หัวข้อธรรมะเหล่านี้อยู่ในเรื่องของหนังสือนวโกวาท ลองไปอ่านดู อย่างพวกพระบวชใหม่ ประเภทบวช 1 พรรษาแล้วจะสึกอะไรนี่ ต้องเรียนนวโกวาทเพื่อจะเอาธรรมะอันนี้ไปใช้ตอนเป็นฆราวาส ส่วนเรื่องการภาวนาเรื่องอะไรนั้นก็เป็นอีกระดับหนึ่ง ถ้าจิตใจเราเวลาเราจะนั่งภาวนาหรือเราจะเดินจงกรม เราจะปฏิบัติธรรม หรือเราจะไปเข้าหาครูบาอาจารย์ เราเป็นคนที่ไม่ด่างพร้อย จิตใจเราจะห้าวหาญ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อย่างถ้าเราไม่มีเครื่องกังวลใจ ไม่มีหนี้สิน ไม่มีคู่แข่งทางการเมืองอะไรอย่างนี้ ชีวิตเราสงบ อย่างบางคนเห็นไหม มีชื่อเสียง มีอํานาจ ไปไหนก็กลัวคนเขายิงหูเอา อันตราย ไม่มีความสุขหรอก ทีนี้ถ้าเราดํารงชีวิตแบบไม่มีข้อด่างพร้อย เรามีศีลที่ดีทุกวัน เรานั่งสมาธิ เดินจงกรมอะไรอย่างนี้ เวลาเราเข้าหาครูบาอาจารย์ ใจเราจะห้าวหาญ ใจมันจะไม่กลัว มันจะห้าวหาญ เพราะว่าไม่รู้จะกลัวทําไม อย่างถ้าศีลเราดี เราก็จะเกิดความกล้าหาญ ถ้าเราได้ศึกษาได้เรียนธรรมะมาพอสมควร รู้หลักที่ถูกต้อง ใจเราก็จะกล้าหาญ ถ้าเราลงมือปฏิบัติเห็นผลเป็นลําดับๆ ไป ใจเราก็กล้าหาญ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เพราะฉะนั้นเราทําตัวให้ดีก่อนอยู่ในโลก แล้วก็ลงมือปฏิบัติให้จริงจัง หลวงพ่อตอนเป็นฆราวาส พูดได้เลยว่าไม่มีโกงใครสักสลึงหนึ่งเลย ไม่เอา มีอยู่ช่วงหนึ่งทํางานอยู่ทีโอที เป็นสตาฟผู้อํานวยการ พวกที่จะหาผลประโยชน์ทางธุรกิจเข้ามา จะเอาโน้นมาให้จะเอานี้มาให้ ไม่เอา ไม่รับหรอก ถ้ารับก็เป็นหนี้เธอ เป็นหนี้เธอแล้ววันหลังเธอก็เรียกร้องขอโน่นขอนี่ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เราสะอาด ศีลเราก็รักษา ทุกวันเราก็ปฏิบัติ แล้วเวลาเข้าไปกราบครูบาอาจารย์จิตใจฮึกเหิม จิตใจไม่สะทกสะท้านเลย เข้าไปหาครูบาอาจารย์เข้าไปด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ ไปรายงานการปฏิบัติ พ่อแม่ครูบาอาจารย์ให้ผมปฏิบัติอย่างนี้ ผมได้ปฏิบัติอย่างนี้แล้ว มีผลเป็นอย่างนี้ ถูกหรือไม่ถูก ถ้ามันไม่ถูก ขอพ่อแม่ครูอาจารย์ช่วยบอกด้วย มันอาจจะผิดอะไรแล้วเราไม่เห็น ถ้าถูกแล้วขอให้พ่อแม่ครูอาจารย์บอกกรรมฐานที่สูงขึ้นไปอีก ที่จะพัฒนาขึ้นไปอีก เข้าไปหาครูบาอาจารย์จะบอกอย่างนี้เรื่อยๆ แล้วเกือบทุกครั้งท่านจะบอกที่ทําอยู่ถูกแล้ว ให้ไปทําอีก ท่านตอบแค่นี้พอ น้อยครั้งที่ว่าเราติดขัดจริงๆ แล้วครูบาอาจารย์ต้องมาช่วยต้องมาแก้อะไรอย่างนี้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ส่วนใหญ่เวลาภาวนาเกิดปัญหาติดขัด หลวงพ่อใช้การสังเกตเอา มีโยนิโสมนสิการ สังเกตไปเรื่อย อันนี้มันถูกหรือมันไม่ถูกที่ภาวนาอยู่ ถ้ามันไม่ถูก มันไม่ถูกตรงไหน ใช้ความสังเกตเอา เรียกโยนิโสมนสิการ ไม่ได้คิดโมเม ตัดสินถูกไม่ถูกเอาตามใจชอบ ต้องตัดสินความถูกผิดของการปฏิบัติด้วยหลักธรรมคําสอนตามพระไตรปิฎก ฉะนั้นถ้าเราภาวนาแล้วมันไม่ตรงพระไตรปิฎก รีบมาดูตัวเองก่อนเลย มันผิดตรงไหน ต้องผิดแน่นอน อย่าไปคิดว่าพระไตรปิฎกผิด หรือพระไตรปิฎกไม่สมบูรณ์ ต้องมาเติมต้องมาตัด </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อันนี้ถ้าพวกเรามีหูมีตา มองออร่าออก เราจะรู้เลยว่าคนที่ไปเล่นกับพระไตรปิฎก ดำปี๋เลย มืดตึ๊ดตื๋อเลยทุกรายเลย ถ้าเรามองออร่าออก พูดให้เป็นศัพท์สมัยใหม่หน่อย ให้ดูไม่น่ากลัว บางคนออร่าดีรู้สึกไหม บางคนออร่ามืดตึ๊ดตื๋อเลย ไปดูเถอะพวกที่วุ่นวายกับพระไตรปิฎก ดำปี๋เลย อเวจีมหานรกรออยู่ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เพราะฉะนั้นเราภาวนา เราก็สังเกตไป สิ่งที่เราทําสอดคล้องกับคําสอนในพระไตรปิฎกไหม หรือว่าไม่สอดคล้อง วิธีดูที่ง่ายๆ ง่ายที่สุดเลย สิ่งที่เราประพฤติปฏิบัติอยู่ อกุศลที่มีอยู่ลดลงไหม อกุศลเกิดขึ้นได้ยากไหม ถ้าเกิดยากขึ้น เออ ก็ดี แสดงว่ามีพัฒนาการ กุศลเกิดขึ้นบ่อยไหม กุศลที่เกิดแล้วเกิดถี่ขึ้นๆ เจริญขึ้นไหม เราวัดความก้าวหน้าของการปฏิบัติที่กิเลสกับที่กุศลนี่ล่ะ วัดตัวเองด้วยวิธีนี้เลย ไม่ต้องไปวัดอย่างอื่น ไม่ต้องเที่ยวมาถามหรอก ไม่ต้องมาถามคนอื่นว่าจิตหนูเป็นอย่างไร จิตผมเป็นอย่างไร ดู ของตัวเองสิ ที่ภาวนาอยู่กุศลเจริญหรืออกุศลเจริญ ดูแค่นี้ก็รู้แล้ว ง่ายๆ อย่างพวกเรามันก็รู้ได้เห็นไหม สังเกตไหมบางช่วงกิเลสเยอะแยะเลย ตรงนั้นล่ะกําลังเสื่อม </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ตรงที่เสื่อมก็มีคน 2 จําพวก พวกหนึ่งเสื่อมแล้วเสื่อมเลย ยอมแพ้ไปเลย อีกพวกหนึ่งเสื่อมแล้วก็อดทนภาวนาต่อไป มันเสื่อมได้มันก็เจริญได้ เพราะในทางปฏิบัติจริง ไม่มีใครหรอกที่ปฏิบัติแล้วเจริญไปเรื่อยๆ มีแต่เรื่องเจริญแล้วเสื่อมๆ ตลอดเวลา จิตมันถึงจะเกิดปัญญารู้ถูกเข้าใจถูกว่าจิตนี้มันไม่ใช่ตัวเราของเราหรอก ถ้ามันเป็นตัวเราของเรา เราก็สั่งว่าจงเจริญอย่างเดียว จงมีความสุขอย่างเดียว จงมีความดีอย่างเดียว มันสั่งไม่ได้ บางช่วงภาวนามันก็เจริญ เจริญอยู่ดีๆ ทั้งๆ ที่ภาวนาอยู่มันก็เสื่อมลงไปก็ไม่ท้อถอย ถ้ามันเจริญแล้วเสื่อม ดี ไม่ใช่ไม่ดี แต่ให้รู้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> จิตเป็นกุศลรู้ว่าจิตเป็นกุศล ดี จิตเป็นอกุศล รู้ว่าจิตเป็นอกุศล อันนี้ก็ดีเหมือนกัน ไม่ใช่ว่าจิตเป็นกุศลแล้วดี จิตเป็นอกุศลไม่ดี อันนั้นเข้าใจผิด พูดมักง่ายไป จิตเป็นกุศล รู้ว่าเป็นกุศล ดี จิตเป็นอกุศล รู้ว่าเป็นอกุศล ดีเหมือนกัน นี่ก็ดี มันดีหรือไม่ดี อยู่ที่เรารู้ตัวเองหรือเปล่า ฉะนั้นเวลาที่เราภาวนาแล้วจิตมันเสื่อม เรารู้ว่ามันเสื่อม ช่วงนี้อกุศลคือความฟุ้งซ่านเกิดเยอะ หรือราคะเกิดเยอะ หรือโทสะเกิดเยอะอะไรอย่างนี้ เรารู้ทันตัวเอง โอ๊ย ช่วงนี้อกุศลมากมายจิตเป็นอกุศล รู้ว่าเป็นอกุศล พระพุทธเจ้าบอกว่าดี ไม่ใช่ไม่ดี </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ตรงที่เรารู้ว่าอกุศล เราก็ตามรู้ตามเห็นไป ดูสิอกุศลจะยั่งยืนแค่ไหน ดูไปๆ อกุศลมันก็ไม่ยั่งยืน ใจโลภ ความโลภยั่งยืนไหม ลองนึกทบทวนในชีวิตเรา ที่เราเคยผ่านความโลภมาตั้งเท่าไรแล้ว อย่างสมมุติเราอยากได้มือถือใหม่อย่างนี้ พอได้มาอย่างที่ใจต้องการเห็นไหม หมดความสนใจในสิ่งนี้แล้ว ไปโลภเรื่องอื่นต่อแล้ว มันเปลี่ยนเรื่องโลภไป มันก็เลยรู้สึกโลภมาก ที่จริงความโลภแต่ละอย่าง อยากได้ผู้หญิงคนนี้มา พอได้มาแล้ว นานๆ ไปก็เฉยๆ แล้ว ไม่รู้สึกหวือหวาเหมือนช่วงแรกแล้ว ความรู้สึกในใจเราเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> วัดความเจริญความเสื่อมด้วยกุศล ด้วยอกุศล ถ้าเรามีสติมีปัญญาเราก็ตามอ่านจิตใจของเราไปเรื่อยๆ จิตใจเราเกิดอกุศล รู้ว่าเป็นอกุศล ไม่ต้องตกใจ รู้มันด้วยความเป็นกลาง อกุศลเองก็ไม่เที่ยง อย่างความโกรธเกิดขึ้นอย่างนี้ ความโกรธเที่ยงไหม ความโกรธก็ไม่เที่ยง มันก็โกรธได้ตอนที่เราคิดถึงเรื่องที่ทําให้โกรธเท่านั้นล่ะ ถ้าเราไม่ได้คิดถึงเรื่องที่ทําให้โกรธ มันก็ไม่โกรธ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อย่างมีบางคนน่าสงสาร ลูกตาย ถ้าพ่อแม่ตายไม่เท่าไร เสียใจนิดหน่อยเพราะรู้สึกว่าสมควรตายแล้วคนแก่ แต่ถ้าเด็กตาย โห รู้สึกสะเทือน เป็นทุกข์อย่างรุนแรงเลย แล้วชีวิตนี้ รู้สึกชีวิตนี้จะไม่มีความสุขอีกต่อไปแล้ว หรือบางคนถูกแฟนทิ้ง ก็รู้สึกว่า โอ้ นกในหัวใจเราไม่มีวันร้องเพลงอีกแล้ว เศร้าใจ พอผ่านวันผ่านเวลาไป มันก็เฉยๆ เมื่อ 2 – 3 วันนี้ก็มีเพื่อนหลวงพ่อคนหนึ่งมาหา เมื่อปีก่อนลูกตายเศร้าโศกมากเลย หลวงพ่อก็บอกว่า เฮ้ย มันก็ชั่วคราวล่ะ เดี๋ยวมันก็หาย มาปีนี้ มาไม่เศร้าแล้ว หายแล้ว เห็นไหมกระทั่งความเศร้าโศกซึ่งเป็นโทสะมันก็ไม่ใช่ของที่ยั่งยืนอะไร อย่าไปตกอกตกใจ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ฉะนั้นเวลาจิตมันมีราคะก็ไม่ต้องไปตกใจ ให้รู้ไป ดูสิ ราคะจะเที่ยงไม่เที่ยง มันโลภ มันจะเที่ยงไม่เที่ยง มันมีโทสะมันจะเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันมีความอิจฉา จะเที่ยงหรือไม่เที่ยง อย่างคนมีโทสะ สมมติเราเกลียดใครสักคนหนึ่งเราอยากฆ่ามันเลย เกลียดมากๆ เราขับรถอยู่ แล้วพอดีมีคนมาปาดหน้าเรา คนวิ่งผ่านหน้าเรา เราตกใจแล้วก็รีบเหยียบเบรกอะไรอย่างนี้ ขณะนั้นเราลืมคนที่เราโกรธไปแล้ว เราไม่ได้นึกถึงมัน ขณะนั้นจิตไม่ได้โกรธแล้ว เราโกรธก็เพราะเราคิดถึงมันในสิ่งที่ไม่ดี คิดถึงอารมณ์ไม่ดี </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เรารักเพราะว่าเราคิดถึงอารมณ์ที่ดี อย่างบางคนสาบานกันจะรักกันชั่วฟ้าดินสลาย ถ้าใครเขาสาบานกับเราอย่างนี้ เราบอกไปเลยโกหก เวลาเรารักใครสักคน ถ้าเราคิดถึงเขาอยู่ เราก็ยังรักแต่ถ้าเราเปลี่ยนเรื่องคิด เรามีงานที่จะต้องทํา ต้องมาเขียนซอฟต์แวร์ ต้องมาทําอะไร ทําโปรแกรมอะไรอย่างนี้ ลืมที่จะคิดถึงเขา ความรักตัวนั้นหายไปแล้ว เพราะฉะนั้นกิเลสมันก็ไม่ยั่งยืน ความรักก็ไม่ยั่งยืน ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความฟุ้งซ่าน ความหดหู่ มันไม่ได้ยั่งยืนอะไรหรอก ไม่ต้องตกอกตกใจ ฉะนั้นสภาวะของกิเลสเกิดขึ้น ให้รู้ว่ามีกิเลสเกิดขึ้น แค่นั้นล่ะพอแล้ว แล้วกิเลสจะสอนธรรมะเรา </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> กิเลสเป็นครู กิเลสเป็นครู สอนอะไรเราได้เยอะแยะเลย สอนว่าตัวมันเองเกิดแล้วก็ดับ มันแสดงไตรลักษณ์เท่าๆ กับกุศลนั่นล่ะ แล้วมันสอนเราอีกว่าถ้าเรายอมให้มันครอบงําจิตใจเรา เราไปก่อกรรมทําชั่ว สิ่งที่ได้มาคือความทุกข์ บาปอกุศลทั้งหลายจะเกิดขึ้น การที่เราไปทำไม่ดีแล้วเรามีความทุกข์ขึ้นมา นั่นคือบทเรียนของชีวิต บางคนมันก็เรียนรู้ได้ มันก็ไม่ทําอีก บางคนมันเรียนไม่ได้ มันก็ทําอีก ถ้าเรียนได้ รู้ว่าตรงนี้ชั่ว ก็ไม่ทํา ถ้าไม่รู้ ไม่เข็ด ก็ทำอีก อย่างเราจะเห็นตามข่าวมีอยู่เรื่อยๆ คนใหญ่คนโตทุจริต หนีไปกลับมา กลับมาไม่ปรับตัว ก็ทําเหมือนเดิมอีก อยู่ไม่ได้อีกล่ะ ความทุกข์ก็ตามบีบคั้นจนแก่ขนาดไหนแล้ว มันไม่ได้ลดละกิเลสเสียอย่างเดียว ชีวิตหาความสงบสุขไม่ได้เลย </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เรามีตัวอย่าง กิเลสเป็นครูสอนเรา กิเลสสอนเราว่าถ้าเราทําตามใจกิเลสเมื่อไร สิ่งที่ตามหลังเรามาคือความทุกข์อันมากมายไม่รู้จักจบจักสิ้นเลย กุศลก็เป็นครูสอนเรา กุศลเป็นครูใจดี กิเลสเป็นครูดุ ไม่ถือว่าเป็นครูใจร้ายหรอก เป็นครูดุเอาจริงเอาจัง ลงโทษ กุศลใจดี ไม่ทําก็แล้วไป ไม่ว่า ทําการบ้าน ให้การบ้านมา ถ้าทําได้ครูก็ดีใจด้วย ถ้าทําไม่ได้ครูก็อุเบกขา เป็นครูชนิดนั้น แต่กิเลสเป็นครูดุ ให้การบ้านแล้วไม่ทํา ลงโทษเลย จับตีเลย ฉะนั้นเราอย่าไปเกลียดมัน เรียนรู้มันไป จิตเรามีกุศลก็รู้ กุศลดับไปก็รู้ กุศลเกิดขึ้นก็รู้ อกุศลเกิดขึ้นก็รู้ อกุศลดับไปก็รู้ ตามรู้ตามเห็นไปเรื่อยๆ เราจะสามารถวัดพัฒนาการของตัวเองได้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อย่างแต่เดิมใช้เวลานานๆ กว่าจะรู้ว่าตอนนี้ถูกกิเลสครอบอยู่ ต่อมาฝึกสติดีขึ้น สติดีขึ้น สมาธิดีขึ้นปัญญาความรู้ถูกความเข้าใจถูกมากขึ้น กิเลสผุดขึ้นมาแป๊บเดียว สติรู้ทัน กิเลสก็ขาดสะบั้นไปแล้วด้วยกําลังของปัญญา สติเป็นตัวรู้ทันว่ามีอะไรเกิดขึ้น ปัญญาเป็นตัวตัดกิเลส ประหัตประหารกิเลส ฉะนั้นอย่างโทสะเราผุดขึ้นมาเรามีสติรู้ทันปั๊บ จิตเราตั้งมั่น ปัญญาเกิด ปัญญาจะตัดกิเลสเอง เห็นไหมหลวงพ่อใช้คำว่า ปัญญามันตัดกิเลส เราไม่ได้ตัดกิเลส ไม่ใช่หน้าที่ จิตไม่ใช่ผู้ตัดกิเลส ปัญญาเป็นผู้ตัดกิเลสต่างหาก แยกให้ดี หรือสติมันเป็นตัวรู้ทันสภาวะ รูปธรรมนามธรรมอะไรสติมันรู้ทัน เราสั่งให้สติรู้ก็ไม่ได้ สั่งจิตให้รู้ทันก็ไม่ได้ แต่เราฝึกสติ แล้วสติมันเร็วขึ้นๆ มันก็รู้ทันได้เร็วขึ้น </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เวลาเราภาวนา เราสามารถสังเกตพัฒนาการของตัวเองได้ไม่ยากหรอก ตอนที่หลวงพ่อไปหาหลวงปู่ดูลย์ครั้งแรกเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2525 ท่านก็สอนธรรมะมาว่า “การปฏิบัตินั้นไม่ยาก ยากเฉพาะผู้ไม่ปฏิบัติ อ่านหนังสือมามากแล้ว ต่อไปนี้อ่านจิตตนเอง” หลวงพ่อก็พยายามมาฝึกอ่านจิตในที่สุดก็สามารถแยกได้ว่าจิตกับอารมณ์เป็นคนละอันกัน พอจิตกับอารมณ์เป็นคนละอัน พอภาวนาไปเรื่อยๆ ทีแรกจิตผู้รู้มันแยกออกจากอารมณ์ทรงตัวอยู่ได้แวบเดียว มันไหลเข้าไปรวมกับอารมณ์ที่กลางอกอีกแล้ว ก็นั่งรู้นั่งดูมันตั้งหลายวัน ตั้ง 7 วัน มันหลุดออกมาอีก จิตวางอารมณ์ที่มันเข้าไปติด หลุดออกมา อยู่ได้ไม่กี่นาทีก็กลับเข้าไปรวมอีกแล้ว จิตเข้าไปรวมถูกอารมณ์ครอบงําอยู่ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ตามรู้ตามดูมันไป อดทน ไม่พยายามแก้ไขอะไรเลย ไม่พยายามดึงมันออกมา ถ้าดึงมันออกมามันจะทําได้ ทําด้วยอํานาจของสมาธิ แต่หลวงปู่บอกให้ดู หลวงพ่อเลยไม่ดึง ฉะนั้นจิตถูกกิเลสครอบไว้ ถูกความปรุงแต่งครอบไว้ ก็รู้อยู่ รู้ไปเรื่อยๆ 5 วันต่อมา หลุดขึ้นมาอีก เห็นไหมเวลาที่ดู ที่ลงไปแช่สั้นลงๆ จิตหลุดขึ้นมาคราวนี้อยู่ได้นานขึ้น ต่อมายิ่งฝึกไปเรื่อยๆ พอจิตติดอารมณ์ปุ๊บ รู้ปั๊บหลุดปั๊บ แล้วจิตก็ทรงตัวเด่นดวงอยู่อย่างนั้นล่ะ ไม่ค่อยรวมเข้ากับอารมณ์ นานๆ ยังรวมเข้าไปอีกทีหนึ่ง </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> เราค่อยฝึกเรื่อยๆ จนกระทั่งอารมณ์กับจิตนี้มันเหมือนน้ำกับน้ำมัน อย่างเรามีน้ำถังหนึ่งน้ำมันใส่ลงไป น้ำกับน้ำมันมันก็อยู่ด้วยกันแต่มันไม่ปนกัน จิตมันก็อยู่กับอารมณ์แต่มันไม่ปนกับอารมณ์ มันแยกชั้นกันอยู่ ตรงนี้ค่อยฝึก อันนี้ไม่ใช่เรื่องมรรคผล ฝึกจิตไป แล้วสุดท้ายมันถึงขั้นปล่อยวาง ปล่อยวางทั้งน้ำ ปล่อยวางทั้งน้ำมัน ปล่อยวางทั้งจิต ปล่อยวางทั้งอารมณ์ นั้นล่ะก็ไม่มีภาระทางใจต่อไป จิตใจเป็นอิสระ มีความสุขมีความสบาย สงบ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> หลวงพ่อวัดความก้าวหน้าของตัวเองด้วยกิเลส มีช่วงหนึ่งภาวนา เข้าไปกราบเรียนหลวงปู่หลวงปู่ครับ ถ้าดูใจผม กิเลส ถ้าสมมุติว่าเราแบ่งกิเลสเป็น 4 ส่วน ผมเห็นแล้วผมสู้มันได้ 2 ส่วนแล้วอีกส่วนหนึ่งกําลังสู้กับมันอยู่อะไรอย่างนี้ หลวงปู่บอก เออ ฉลาด รู้เท่าทันกิเลสตัวเอง นี่ความฉลาด พวกเราจะสามารถวัดได้ ถ้าเราภาวนาเรื่อยๆ เราจะรู้ว่าตอนนี้กิเลสเราเหลือกี่เปอร์เซ็นต์ ใครเคยวัดตัวนี้ได้บ้าง ยกมือให้ดูหน่อยสิมีไหม ดูตัวเองออกว่ากิเลสเรามีกี่เปอร์เซ็นต์ มี 80 เปอร์เซ็นต์ มี 70 เปอร์เซ็นต์อย่างนี้ ใครดูเห็นบ้างมีไหม ฝึกๆ อีก ยังไม่พอ วิญญูชนรู้ด้วยตัวเองๆ ได้ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ฉะนั้นเราหัดภาวนาไป เราวัดความเจริญความเสื่อมด้วยกุศล ด้วยอกุศลนั่นล่ะ ถ้ากุศลเจริญขึ้น อกุศลเสื่อมลง อันนี้เราพัฒนาขึ้นถ้ากุศลเสื่อมลง อกุศลเจริญขึ้น ช่วงนี้เราเสื่อมลง บางคนเสื่อมก็เสื่อมชั่วคราว แล้วก็ภาวนาต่อ ก็เจริญขึ้น แล้วคราวนี้เจริญมากกว่าเก่า แล้วเวลาเสื่อมก็เสื่อมน้อยกว่าเก่า จะเป็นอย่างนี้ ค่อยๆ เจริญขึ้นแล้วเสื่อม มันจะเป็น Curve ขึ้นอย่างนี้ การปฏิบัติไม่ใช่ Curve แบบนี้ ไม่ใช่ขึ้นไปอย่างนี้ มันจะขึ้นอย่างนี้ ขึ้นๆๆ ลงๆ แต่แนวโน้ม เทรนด์มันจะดีขึ้นเรื่อยๆ บางคนภาวนาเจริญ แล้วพอเสื่อมตกลงไปใต้ดินเลย เลิกปฏิบัติเลย มี พระยังมีเลย ภาวนามาหลายๆ ปี รู้สึกว่าทําไมไม่ได้อะไรเลย เลยเลิกภาวนา นี่ไม่ฉลาดอย่างยิ่งเลย ไม่ได้อะไรเลย ก็เพราะอินทรีย์ยังอ่อน เลิกภาวนา ชาติหน้าก็ยิ่งอ่อนกว่านี้อีกเพราะตามใจกิเลสมากขึ้น </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ต้องดีทั้งทางโลกทางธรรม ฉะนั้นเราอยู่กับโลก สรุป อยู่กับโลกก็ต้องเข้าใจโลก โลกมีทั้งด้านเจริญและด้านเสื่อม มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีนินทา มีสรรเสริญ มีสุข มีทุกข์ เราอย่าไปหลงมัน ถึงเวลาเสื่อมก็อย่าไปเสียใจ มันเป็นธรรมดาของโลก ถึงเวลาเจริญก็อย่าลืมตัว ไม่นานมันก็เสื่อม นี่เป็นธรรมดาของโลก ถ้าใจเราอยู่อย่างนี้แล้วเรารู้จักดํารงชีวิตที่พอเหมาะพอควร รู้จักคบคนที่ดีอะไรนี่ การภาวนาของเรามันจะไม่มีข้อกังวลใจ เราจะภาวนาสบายใจ ถึงเวลาเราก็ปฏิบัติของเราได้ ไม่มีอะไรกังวล </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อย่างถ้าเป็นหนี้นอกระบบแล้วจะมาภาวนา ยาก วันๆ ก็คอยได้ยินเสียงอะไรแก๊กๆ หันซ้ายหันขวา มันจะมาเชือดทิ้งหรือเปล่าอะไรอย่างนี้ เห็นไหมมีทุกข์ เพราะความมีหนี้ ที่พระพุทธเจ้าพูดแต่ละคําไม่มีผิดหรอก มันเป็นอย่างนั้นจริงๆ ทีนี้พวกเราไม่ค่อยศึกษาคําสอนของพุทธเจ้า ลองศึกษาสําหรับฆราวาส มีธรรมะสําหรับฆราวาสเยอะแยะเลย จะปฏิบัติต่อพ่อแม่ครูบาอาจารย์อย่างไร ปฏิบัติต่อลูกเมียสามีภรรยาอย่างไร ปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างไร ปฏิบัติต่อคนงานคนรับใช้ของเราอย่างไร ท่านสอนหมดเลย ถ้าเราเอามาท ชีวิตเราจะมั่นคง อาจจะไม่รวยล้นฟ้าเหมือนพวกขี้โกง แต่เราไม่มีอะไรด่างพร้อยในใจของเราเอง ไม่มีอะไรที่จะต้องหวาดระแวง เวลาเราภาวนา จิตก็รวมง่าย ภาวนาไปกลัวไป จิตไม่รวม ลําบาก </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ฉะนั้นจะให้ดีก็ต้องดีทั้งทางโลกทางธรรม หวังว่าจะดีทางธรรมแต่ทางโลกเราเสียหมดเลย ไม่ดีหรอก บางคนทิ้งลูกทิ้งเมียมา จะเอาดีทางธรรม ภาวนาแล้วคิดถึงๆๆ กังวลอย่างนี้ ไม่ได้ผลหรอก แต่บางท่านมี ท่านใจเด็ดจริงๆ หลวงปู่ขาว เมียท่านมีชู้ ท่านจะไปฟันเขาให้ตายแล้ว เอามีดมาแล้ว เอาดาบมา ท่านเป็นนายร้อยคุมกองวัวต่าง ไม่ใช่คนอ่อนแอ เป็นผู้นํามีลูกน้องตั้งเยอะตั้งแยะ รู้ว่าเมียมีชู้ ไปดักดู เอามีดจะไปฟันมันให้ตายแล้ว ใช้ดาบฟัน เสร็จแล้วก็นึก เราฟันเขาตาย เราก็บาปท่านก็ไม่เอาแล้ว วางอาวุธ ออกบวชเลย แล้วท่านก็ตัดใจเด็ดขาดเลย ทิ้งลูกทิ้งเมีย ทิ้งทรัพย์สมบัติทุกสิ่งทุกอย่าง ภาวนาเอาเป็นเอาตาย ใจของท่านเป็นพวกขี้โมโห แล้วใจเด็ดห้าวหาญ ฉะนั้นเวลาภาวนาท่านเก่งกล้าสามารถ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> วันหนึ่งท่านอยู่บนภูเขาแล้วมองลงมาเห็นท้องนา เห็นนาข้าว ข้าวออกรวง จิตมันก็พิจารณา จากต้นข้าวก็มีรวงข้าว มีรวงข้าวก็มีเมล็ดขึ้นมา แก่แล้วก็ตกลงไปกลายเป็นต้นข้าว วนเวียนอยู่อย่างนี้เอง จิตที่ยังมีเชื้อเกิดคือมีอวิชชา ก็ยังพาเวียนว่ายตายเกิดไม่เลิก ท่านเห็น ย้อนเข้ามาเห็นอวิชชา อวิชชาขาดสะบั้นลงไป ท่านก็เป็นครูบาอาจารย์ชั้นเลิศอีกองค์หนึ่ง เห็นไหม ทางโลกมีปัญหา ท่านใจเด็ด ท่านตัดทิ้ง ถ้าเรายังทิ้งไม่ได้ แก้ปัญหาไป อย่าให้ผิดศีล อย่าให้จิตเราเศร้าหมอง เพราะเราไปทําสิ่งที่เป็นทุกข์เป็นโทษขึ้นมา อยู่กับโลกอยู่ให้เป็น แล้วมันจะเป็นวัตถุดิบเป็นทรัพยากรเวลาเราภาวนา </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> อย่างหลวงพ่ออยู่กับโลก กว่าหลวงพ่อจะบวชได้อายุตั้ง 48 ที่กว่าจะบวชได้นานเพราะหลวงพ่อต้องเลี้ยงพ่อเลี้ยงแม่อยู่ งานเรายังมี ภาระทางโลกเรายังมี พอแม่ตายไป แม่บุญธรรม พ่อแม่บุญธรรม หลวงพ่อพี่น้องเยอะ ตายายเอามาเลี้ยงเป็นพ่อแม่บุญธรรม เราเป็นลูกคนเดียวขึ้นมา ต้องดูแล พอภาระลดลงถึงออกมาบวชได้ กว่าจะบวชได้อายุ 48 คนอายุ 48 เข้าใจโลกไม่น้อยแล้ว รู้แล้วว่าโลกนี้เป็นอย่างไร โลกนี้ตกอยู่ใต้โลกธรรม 8 ประการ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีนินทา มีสุข มีทุกข์ แต่ทุกอย่างไม่มีอะไรยั่งยืนเสียอย่างเดียวเลย มีทรัพยากรอย่างนี้ซาบซึ้งถึงอกถึงใจอยู่อย่างนี้ เวลามาบวชใจมันเด็ดเดี่ยว ไม่เคยคิดจะถอยหลังเลย </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ตอนพรรษาที่สี่ นึกถึงหลวงปู่เหรียญ พอนึกถึงท่าน โอ้ ท่านใกล้จะสิ้นแล้ว รีบขึ้นไปกราบท่าน ก็สนทนาธรรม รายงานการปฏิบัติให้ท่านฟัง ท่านก็เล่าของท่าน แล้วท่านก็ปีติ น้ำตาท่านคลอ แล้วท่านก็ลูบจีวรท่าน ท่านลูบอย่างนี้ บอก “เราต่อสู้มาด้วยความยากลําบาก ตอนนี้เรา” พูดอย่างไรดีล่ะ นี่ฆราวาสแทบทั้งนั้นเลย คือตอนนี้เราไม่ลําบากแล้ว คล้ายๆ อย่างนี้ “เราจะตายในผ้าเหลืองนี้” ท่านบอกอย่างนี้ “เอาอย่างเรานะ ตายในผ้าเหลืองเลยนะ” บอก ครับ ไม่คิดจะถอยหรอก ไม่คิดจะถอย </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> จิตใจที่มันเรียนรู้โลกมามาก มันเห็นโลกเป็นทุกข์ แล้วเวลาเข้าสู่เส้นทางธรรมมันจะเด็ดเดี่ยว ฉะนั้นถ้าชีวิตของเราตอนนี้ลําบาก อย่ากลุ้มใจ อดทน ผ่านมันไปด้วยสติด้วยปัญญา สิ่งเหล่านี้มันเป็นทรัพยากรของการปฏิบัติทั้งสิ้นเลย อย่างเวลาเราภาวนาเรารู้จักโลกแจ่มแจ้งแล้ว เราภาวนามา จะให้เราย้อนไปหาโลก มัน ย้อนไปไม่ลง เหมือนเราเคยตกอยู่ในหลุมส้วม ถูกอึถูกฉี่ย้อมเต็มตัว แล้วเราขึ้นจากหลุมมาแล้ว เรามาอาบน้ำอาบท่า เปลี่ยนเสื้อผ้า แล้วจะให้เราโดดลงหลุมอีก เราไม่เอาหรอก ใจมันเป็นอย่างนั้นๆ </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ฉะนั้นถ้าเราอยู่กับโลก เรียนรู้โลกให้แจ่มแจ้ง แล้วเวลาภาวนามันจะมีกําลังมีทรัพยากร ข้อมูลทางโลกเรารู้แล้วไม่มีอะไรน่าสนใจ ใจมันจะมุ่งเข้าสู่ทางธรรมได้ ไม่ต้องหนีโลกมาบวชทั้งๆ ที่ยังมีภาระทางโลก มาบวชแล้วใจก็กังวลไปเรื่อยๆ ไม่ได้กินหรอก ใจอย่างหลวงปู่ขาวมีไม่กี่คนหรอก </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> ไปภาวนาเอา อยู่กับโลกก็อยู่ให้เป็น ปฏิบัติก็ให้มันสมควรแก่ธรรม รู้ว่าอะไรเป็นหน้าที่หลัก อะไรเป็นหน้าที่รอง หน้าที่หลักก็คือการพาตัวเองให้มันพ้นทุกข์ นั่นคือหน้าที่หลักในสังสารวัฏ หน้าที่รองก็คือดํารงชีวิตอยู่ พึ่งพาตัวเองให้ได้ ทําหน้าที่ของเราในทางโลกให้สําเร็จ แล้วก็ทําไปด้วยความมีสติ มีความเป็นกลางต่อสุขและทุกข์ ต่อเจริญและเสื่อม ต่อลาภ ยศสรรเสริญ สุข ต้องมีความเป็นกลาง ถ้าไม่เป็นกลางจิตจะแกว่ง ฉะนั้นอยู่กับโลกถ้าอยู่ได้ถูก เวลาภาวนาจะไม่ยาก ถ้าอยู่กับโลกผิด มาภาวนานี้ยากมาก เชิญไปทําหน้าที่ของแต่ละคน </div> <div lang="zh-Hans" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม 11 สิงหาคม 2567 </div>
导航
导航
首页
随机页面
Wiki工具
Wiki工具
特殊页面
获取缩短的URL
页面工具
页面工具
用户页面工具
更多
翻译
可打印版本
ABBREVIATIONS
ANUMODANĀ
Buddhadhamma-The Laws of Nature and Their Benefits to Life-by Bhikkhu P. A. Payutto
D17.26《八支圣道》-隆波帕默尊者-2017年12月24日
D24.65《要小心因禅定而引发的邪见》- 隆波帕默尊者-2024年8月4日
D24.67《吉祥的生活始于结交善友》-隆波帕默尊者-2024年8月11日
D24.73《拥有什么,都会因此而苦》-隆波帕默尊者-2024年8月31日
D24.76《隆波帕默尊者开示》-2024年9月7日
D24.79《隆波帕默尊者开示》-2024年9月15日
D24.84《隆波帕默尊者开示》-2024年10月5日
FOREWORD BY THE PRESIDENT OF THE BUDDHADHAMMA FOUNDATION
FOREWORD BY THE TRANSLATOR
FOREWORD BY VEN. AJAHN JAYASARO
INTRODUCTION
PART 1: MIDDLE TEACHING
คุณสมบัติของชาวพุทธที่ดี
ร่างกายโดนความทุกข์ขย้ำอยู่ตลอดเวลา
อยู่กับโลกให้เป็นจะภาวนาง่าย-11 สิงหาคม 2567
เราสามารถปฏิบัติธรรมได้ตลอดเวลา
aa - Afar
ab - Abkhazian
abs - Ambonese Malay
ace - Achinese
ady - Adyghe
ady-cyrl - Adyghe (Cyrillic script)
aeb - Tunisian Arabic
aeb-arab - Tunisian Arabic (Arabic script)
aeb-latn - Tunisian Arabic (Latin script)
af - Afrikaans
ak - Akan
aln - Gheg Albanian
alt - Southern Altai
am - Amharic
ami - Amis
an - Aragonese
ang - Old English
anp - Angika
ar - Arabic
arc - Aramaic
arn - Mapuche
arq - Algerian Arabic
ary - Moroccan Arabic
arz - Egyptian Arabic
as - Assamese
ase - American Sign Language
ast - Asturian
atj - Atikamekw
av - Avaric
avk - Kotava
awa - Awadhi
ay - Aymara
az - Azerbaijani
azb - South Azerbaijani
ba - Bashkir
ban - Balinese
ban-bali - ᬩᬲᬩᬮᬶ
bar - Bavarian
bbc - Batak Toba
bbc-latn - Batak Toba (Latin script)
bcc - Southern Balochi
bci - Baoulé
bcl - Central Bikol
be - Belarusian
be-tarask - Belarusian (Taraškievica orthography)
bg - Bulgarian
bgn - Western Balochi
bh - Bhojpuri
bho - Bhojpuri
bi - Bislama
bjn - Banjar
blk - Pa'O
bm - Bambara
bn - Bangla
bo - Tibetan
bpy - Bishnupriya
bqi - Bakhtiari
br - Breton
brh - Brahui
bs - Bosnian
btm - Batak Mandailing
bto - Iriga Bicolano
bug - Buginese
bxr - Russia Buriat
ca - Catalan
cbk-zam - Chavacano
cdo - Min Dong Chinese
ce - Chechen
ceb - Cebuano
ch - Chamorro
cho - Choctaw
chr - Cherokee
chy - Cheyenne
ckb - Central Kurdish
co - Corsican
cps - Capiznon
cr - Cree
crh - Crimean Tatar
crh-cyrl - Crimean Tatar (Cyrillic script)
crh-latn - Crimean Tatar (Latin script)
cs - Czech
csb - Kashubian
cu - Church Slavic
cv - Chuvash
cy - Welsh
da - Danish
dag - Dagbani
de - German
de-at - Austrian German
de-ch - Swiss High German
de-formal - German (formal address)
din - Dinka
diq - Zazaki
dsb - Lower Sorbian
dtp - Central Dusun
dty - Doteli
dv - Divehi
dz - Dzongkha
ee - Ewe
egl - Emilian
el - Greek
eml - Emiliano-Romagnolo
en - English
en-ca - Canadian English
en-gb - British English
eo - Esperanto
es - Spanish
es-419 - Latin American Spanish
es-formal - Spanish (formal address)
et - Estonian
eu - Basque
ext - Extremaduran
fa - Persian
fat - Fanti
ff - Fulah
fi - Finnish
fit - Tornedalen Finnish
fj - Fijian
fo - Faroese
fon - Fon
fr - French
frc - Cajun French
frp - Arpitan
frr - Northern Frisian
fur - Friulian
fy - Western Frisian
ga - Irish
gaa - Ga
gag - Gagauz
gan - Gan Chinese
gan-hans - Gan (Simplified)
gan-hant - Gan (Traditional)
gcr - Guianan Creole
gd - Scottish Gaelic
gl - Galician
gld - Nanai
glk - Gilaki
gn - Guarani
gom - Goan Konkani
gom-deva - Goan Konkani (Devanagari script)
gom-latn - Goan Konkani (Latin script)
gor - Gorontalo
got - Gothic
gpe - Ghanaian Pidgin
grc - Ancient Greek
gsw - Swiss German
gu - Gujarati
guc - Wayuu
gur - Frafra
guw - Gun
gv - Manx
ha - Hausa
hak - Hakka Chinese
haw - Hawaiian
he - Hebrew
hi - Hindi
hif - Fiji Hindi
hif-latn - Fiji Hindi (Latin script)
hil - Hiligaynon
ho - Hiri Motu
hr - Croatian
hrx - Hunsrik
hsb - Upper Sorbian
hsn - Xiang Chinese
ht - Haitian Creole
hu - Hungarian
hu-formal - Hungarian (formal address)
hy - Armenian
hyw - Western Armenian
hz - Herero
ia - Interlingua
id - Indonesian
ie - Interlingue
ig - Igbo
ii - Sichuan Yi
ik - Inupiaq
ike-cans - Eastern Canadian (Aboriginal syllabics)
ike-latn - Eastern Canadian (Latin script)
ilo - Iloko
inh - Ingush
io - Ido
is - Icelandic
it - Italian
iu - Inuktitut
ja - Japanese
jam - Jamaican Creole English
jbo - Lojban
jut - Jutish
jv - Javanese
ka - Georgian
kaa - Kara-Kalpak
kab - Kabyle
kbd - Kabardian
kbd-cyrl - Kabardian (Cyrillic script)
kbp - Kabiye
kcg - Tyap
kea - Kabuverdianu
kg - Kongo
khw - Khowar
ki - Kikuyu
kiu - Kirmanjki
kj - Kuanyama
kjp - Eastern Pwo
kk - Kazakh
kk-arab - Kazakh (Arabic script)
kk-cn - Kazakh (China)
kk-cyrl - Kazakh (Cyrillic script)
kk-kz - Kazakh (Kazakhstan)
kk-latn - Kazakh (Latin script)
kk-tr - Kazakh (Turkey)
kl - Kalaallisut
km - Khmer
kn - Kannada
ko - Korean
ko-kp - Korean (North Korea)
koi - Komi-Permyak
kr - Kanuri
krc - Karachay-Balkar
kri - Krio
krj - Kinaray-a
krl - Karelian
ks - Kashmiri
ks-arab - Kashmiri (Arabic script)
ks-deva - Kashmiri (Devanagari script)
ksh - Colognian
ksw - S'gaw Karen
ku - Kurdish
ku-arab - Kurdish (Arabic script)
ku-latn - Kurdish (Latin script)
kum - Kumyk
kv - Komi
kw - Cornish
ky - Kyrgyz
la - Latin
lad - Ladino
lb - Luxembourgish
lbe - Lak
lez - Lezghian
lfn - Lingua Franca Nova
lg - Ganda
li - Limburgish
lij - Ligurian
liv - Livonian
lki - Laki
lld - Ladin
lmo - Lombard
ln - Lingala
lo - Lao
loz - Lozi
lrc - Northern Luri
lt - Lithuanian
ltg - Latgalian
lus - Mizo
luz - Southern Luri
lv - Latvian
lzh - Literary Chinese
lzz - Laz
mad - Madurese
mai - Maithili
map-bms - Basa Banyumasan
mdf - Moksha
mg - Malagasy
mh - Marshallese
mhr - Eastern Mari
mi - Maori
min - Minangkabau
mk - Macedonian
ml - Malayalam
mn - Mongolian
mni - Manipuri
mnw - Mon
mo - Moldovan
mos - Mossi
mr - Marathi
mrh - Mara
mrj - Western Mari
ms - Malay
ms-arab - Malay (Jawi script)
mt - Maltese
mus - Muscogee
mwl - Mirandese
my - Burmese
myv - Erzya
mzn - Mazanderani
na - Nauru
nah - Nāhuatl
nan - Min Nan Chinese
nap - Neapolitan
nb - Norwegian Bokmål
nds - Low German
nds-nl - Low Saxon
ne - Nepali
new - Newari
ng - Ndonga
nia - Nias
niu - Niuean
nl - Dutch
nl-informal - Dutch (informal address)
nmz - Nawdm
nn - Norwegian Nynorsk
no - Norwegian
nod - Northern Thai
nov - Novial
nqo - N’Ko
nrm - Norman
nso - Northern Sotho
nv - Navajo
ny - Nyanja
nyn - Nyankole
nys - Nyungar
oc - Occitan
ojb - Northwestern Ojibwe
olo - Livvi-Karelian
om - Oromo
or - Odia
os - Ossetic
pa - Punjabi
pag - Pangasinan
pam - Pampanga
pap - Papiamento
pcd - Picard
pcm - Nigerian Pidgin
pdc - Pennsylvania German
pdt - Plautdietsch
pfl - Palatine German
pi - Pali
pih - Norfuk / Pitkern
pl - Polish
pms - Piedmontese
pnb - Western Punjabi
pnt - Pontic
prg - Prussian
ps - Pashto
pt - Portuguese
pt-br - Brazilian Portuguese
pwn - Paiwan
qqq - Message documentation
qu - Quechua
qug - Chimborazo Highland Quichua
rgn - Romagnol
rif - Riffian
rm - Romansh
rmc - Carpathian Romani
rmy - Vlax Romani
rn - Rundi
ro - Romanian
roa-tara - Tarantino
rsk - Pannonian Rusyn
ru - Russian
rue - Rusyn
rup - Aromanian
ruq - Megleno-Romanian
ruq-cyrl - Megleno-Romanian (Cyrillic script)
ruq-latn - Megleno-Romanian (Latin script)
rw - Kinyarwanda
ryu - Okinawan
sa - Sanskrit
sah - Sakha
sat - Santali
sc - Sardinian
scn - Sicilian
sco - Scots
sd - Sindhi
sdc - Sassarese Sardinian
sdh - Southern Kurdish
se - Northern Sami
se-fi - davvisámegiella (Suoma bealde)
se-no - davvisámegiella (Norgga bealde)
se-se - davvisámegiella (Ruoŧa bealde)
sei - Seri
ses - Koyraboro Senni
sg - Sango
sgs - Samogitian
sh - Serbo-Croatian
shi - Tachelhit
shi-latn - Tachelhit (Latin script)
shi-tfng - Tachelhit (Tifinagh script)
shn - Shan
shy - Shawiya
shy-latn - Shawiya (Latin script)
si - Sinhala
simple - Simple English
sjd - Kildin Sami
sje - Pite Sami
sk - Slovak
skr - Saraiki
skr-arab - Saraiki (Arabic script)
sl - Slovenian
sli - Lower Silesian
sm - Samoan
sma - Southern Sami
smn - Inari Sami
sms - Skolt Sami
sn - Shona
so - Somali
sq - Albanian
sr - Serbian
sr-ec - Serbian (Cyrillic script)
sr-el - Serbian (Latin script)
srn - Sranan Tongo
sro - Campidanese Sardinian
ss - Swati
st - Southern Sotho
stq - Saterland Frisian
sty - Siberian Tatar
su - Sundanese
sv - Swedish
sw - Swahili
syl - Sylheti
szl - Silesian
szy - Sakizaya
ta - Tamil
tay - Tayal
tcy - Tulu
tdd - Tai Nuea
te - Telugu
tet - Tetum
tg - Tajik
tg-cyrl - Tajik (Cyrillic script)
tg-latn - Tajik (Latin script)
th - Thai
ti - Tigrinya
tk - Turkmen
tl - Tagalog
tly - Talysh
tly-cyrl - толыши
tn - Tswana
to - Tongan
tpi - Tok Pisin
tr - Turkish
tru - Turoyo
trv - Taroko
ts - Tsonga
tt - Tatar
tt-cyrl - Tatar (Cyrillic script)
tt-latn - Tatar (Latin script)
tum - Tumbuka
tw - Twi
ty - Tahitian
tyv - Tuvinian
tzm - Central Atlas Tamazight
udm - Udmurt
ug - Uyghur
ug-arab - Uyghur (Arabic script)
ug-latn - Uyghur (Latin script)
uk - Ukrainian
ur - Urdu
uz - Uzbek
uz-cyrl - Uzbek (Cyrillic script)
uz-latn - Uzbek (Latin script)
ve - Venda
vec - Venetian
vep - Veps
vi - Vietnamese
vls - West Flemish
vmf - Main-Franconian
vmw - Makhuwa
vo - Volapük
vot - Votic
vro - Võro
wa - Walloon
war - Waray
wls - Wallisian
wo - Wolof
wuu - Wu Chinese
xal - Kalmyk
xh - Xhosa
xmf - Mingrelian
xsy - Saisiyat
yi - Yiddish
yo - Yoruba
yrl - Nheengatu
yue - Cantonese
za - Zhuang
zea - Zeelandic
zgh - Standard Moroccan Tamazight
zh - Chinese
zh-cn - Chinese (China)
zh-hans - Simplified Chinese
zh-hant - Traditional Chinese
zh-hk - Chinese (Hong Kong)
zh-mo - Chinese (Macau)
zh-my - Chinese (Malaysia)
zh-sg - Chinese (Singapore)
zh-tw - Chinese (Taiwan)
zu - Zulu